เนื้อสะเต๊ะ คือ
สัทอักษรสากล: [neūa sa te] การออกเสียง:
"เนื้อสะเต๊ะ" การใช้"เนื้อสะเต๊ะ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- n.
เนื้อวัวปรุงรสแล้วเสียบไม้ย่างไฟกินกับน้ำจิ้มและแตงกวาดอง
ชื่อพ้อง: สะเต๊ะเนื้อ
ตัวอย่างการใช้: อาหารว่างจานแรกเป็นเนื้อสะเต๊ะ
clf.: ไม้
- เนื้อ ๑ น. ส่วนของร่างกายคนและสัตว์อยู่ถัดหนังเข้าไป; เนื้อวัวหรือเนื้อควายที่ใช้เป็นอาหาร เช่น แกงเนื้อ; สิ่งที่เป็นลักษณะประจำตัวของสิ่งต่าง ๆ เช่น
- สะ ๑ ว. สวย. ๒ ก. ใส่หรือสุมเพื่อกันไว้ เช่น เอาหนามสะ.
- สะเต๊ะ น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อหมูหรือเนื้อวัวเป็นต้นที่ปรุงรสแล้วเสียบไม้ย่างไฟ กินกับน้ำจิ้มและอาจาด.
- เต ( แบบ ) ว. สาม, ใช้เติมหน้าศัพท์สังขยาเป็นเศษจำนวนเต็ม เช่น เตรสมสุรทิน = วันที่ ๑๓, เตรสีดิถี = วัน ๑๓ ค่ำ, เตวีสติมสุรทิน = วันที่ ๒๓,
- เต๊ะ 1) adv. แสดงท่าผึ่งผาย เพราะคิดว่าตนมีฐานะสูงกว่าผู้อื่น ชื่อพ้อง: วางท่า, วางมาด, เต๊ะจุ๊ย, เต๊ะท่า, แอ๊ก ตัวอย่างการใช้:
- สะเต๊ะเนื้อ เนื้อสะเต๊ะ
- เนื้อสเต็ก สเต็ก
- เนื้อสเต๊ค ชิ้นเนื้อหั่นชิ้นใหญ่ เนื้อหั่น เนื้อหรือปลาชิ้นหนา สําหรับทอดหรือย่าง
- เรือสะเภา ตะเภา เรือตะเภา เรือสําเภา
- คนขี้เต๊ะ คนที่มั่นใจในรูปลักษณ์ภายนอกของตนเองมากเกินไป
- ปาเต๊ะ ๑ น. ชื่อตำแหน่งขุนนาง. (ช.). ๒ น. ชื่อผ้าโสร่งชนิดหนึ่ง ใช้เคลือบด้วยขี้ผึ้งเหลวบางตอนที่ไม่ต้องการให้มีสีสันหรือลวดลาย. (ม. batik).
- เต็มโต๊ะ adv. ทั่วไปทั้งโต๊ะ ตัวอย่างการใช้: ตำราเรียนกางเต็มโต๊ะเพราะถึงฤดูกาลสอบแล้ว
- ตะเบ๊ะ (ปาก) ก. ทำความเคารพอย่างคนในเครื่องแบบ คือ ทำวันทยหัตถ์.
- สะเก็ดแผลหรือสะเก็ดผิวหนัง เปลือกตะกอนในเหล้าองุ่น
- สะพานโป๊ะ น. สะพานที่ทอดจากฝั่งไปที่โป๊ะเรือ ทำด้วยไม้กระดานเป็นต้น มีไม้ตอกประกับทางด้านขวางสำหรับเดิน.