เพชรายุธ คือ
เพ็ดชะรายุด
น. อาวุธเพชรของพระอินทร์, ชื่อหนึ่งของพระอินทร์. (ส. วชฺร + อาวุธ).
- เพ ก. พังทลาย.
- เพชร เพ็ด, เพ็ดชะ- น. ชื่อแก้วที่แข็งที่สุดและมีน้ำแวววาวมากกว่าพลอยอื่น ๆ ใช้ทำเครื่องประดับหรือใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม; โดยปริยายหมายความว่า
- ชร ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- ชรา ชะ- ว. แก่ด้วยอายุ, ชำรุดทรุดโทรม. ( ป. , ส. ).
- ชรายุ ชฺรา- ( แบบ ) น. คราบงู, รกที่ห่อหุ้มลูกคนหรือลูกสัตว์. ( ส. ).
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราย น. เรื่อง ส่วน บุคคล หรือสิ่งซึ่งแยกกล่าวเป็นอย่าง ๆ ไป เช่น พิจารณาเป็นราย ๆ ไป แต่ละราย รายนี้เข้าที่ไหนบ่อนแตกที่นั่น,
- ยุ ก. กล่าวชักชวน ส่งเสริม หนุน หรือเป็นใจให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (มักใช้ในทางที่ไม่สมควร) เช่น ยุให้เขาทะเลาะกัน ยุให้โกรธ ยุให้กำเริบ.
- (นิ. เพชร) มาจาก นิราศเมืองเพชร ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๐
- เพชร- เพ็ด, เพ็ดชะ- น. ชื่อแก้วที่แข็งที่สุดและมีน้ำแวววาวมากกว่าพลอยอื่น ๆ ใช้ทำเครื่องประดับหรือใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม; โดยปริยายหมายความว่า แข็งที่สุด เช่น เหล็กเพชร ใจเพชร. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
- เพชรตัดเพชร (สำ) น. คนเก่งต่อเก่งมาสู้กัน.
- ขนเพชร น. ขนสีขาวที่ขึ้นแปลกเป็นพิเศษ มีลักษณะยาวกว่าปรกติ.
- ปูนเพชร น. ปูนชนิดหนึ่ง ทำด้วยปูนขาวผสมทรายละเอียด น้ำกาวหนัง และน้ำเชื้อน้ำตาล ใช้ปั้นรูปต่าง ๆ เช่น หน้าบัน ลายกระหนก หัวนาค.
- สลักเพชร น. ไม้หรือเหล็กสำหรับสอดขัดกลอนประตูหน้าต่างแบบเรือนไทยเพื่อไม่ให้เคลื่อนที่; วิธีเข้าปากไม้แบบหนึ่ง บากปากไม้และเดือยเป็นรูปหางเหยี่ยว ใช้ลิ่มสอดเข้าไปที่หัวเดือยซึ่งบากไว้ เมื่อสอดเดือยเข้าไปในปาก
- เพชรซีก เพ็ด- น. เพชรที่เจียระไนแล้วไม่แพรวพราวงามเท่าเพชรลูก มักได้จากส่วนที่ตัดออกในการตัดแต่งเจียระไนเพชรลูก.