เสาวณิต คือ
- เส ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
- เสา ๑ น. ท่อนไม้สำหรับใช้เป็นหลักหรือเป็นเครื่องรองรับสิ่งอื่นมีเรือนเป็นต้น เช่น เสาเรือน เสาโทรเลข, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ในลักษณะเช่นนั้น. ๒
- เสาว -วะ- ว. ดี, งาม. ( แผลงมาจาก สว สุ โส เช่น เสาวภาพ แผลงมาจาก สวภาพ, เสาวคนธ์ แผลงมาจาก สุคนธ์, เสาวภา แผลงมาจาก โสภา).
- สา ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
- สาว สาวะ- ว. สีดำแดง, สีน้ำตาลแก่. ( ป. ; ส. ศฺยาว). ๑ น. หญิงที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕-๓๐ ปีขึ้นไป เช่น ย่างเข้าสู่วัยสาว
- วณ วะนะ- น. แผล, ฝี. ( ป. ; ส. วฺรณ).
- เสาว- -วะ- ว. ดี, งาม. (แผลงมาจาก สว สุ โส เช่น เสาวภาพ แผลงมาจาก สวภาพ, เสาวคนธ์ แผลงมาจาก สุคนธ์, เสาวภา แผลงมาจาก โสภา).
- เสาวิทยุ เสาอากาศ
- เสียสาว ก. ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียพรหมจารี ก็ว่า.
- เสาวคันธ์ น. ของหอม, เครื่องหอม, กลิ่นหอม.
- เสาวนะ น. การฟัง, การได้ฟัง. (ป. สวน, สวนาการ).
- เสาวนา น. การฟัง, การได้ฟัง. (ป. สวน, สวนาการ).
- เสาวนีย์ น. คำสั่งของพระราชินี, ใช้ว่า พระราชเสาวนีย์; (กลอน) คำสั่งของท้าวพระยา. (ป. สวนีย).
- เสาวภา ว. งาม. (ป. โสภา).
- เสาวรส ๑ ว. มีรสอร่อย, มีรสดี. (ป., ส. สุรส). ๒ น. ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora laurifolia L. ในวงศ์ Passifloraceae ดอกสีม่วง กลิ่นหอม.