เห่อเหิม คือ
"เห่อเหิม" การใช้"เห่อเหิม" อังกฤษ"เห่อเหิม" จีน
- ว. มีใจกำเริบทะเยอทะยาน, เหิมเห่อ ก็ว่า.
- เห ก. เบนไป เช่น เหหัวเรือ, เขว เช่น เขาเหไปเข้าข้างศัตรู, เฉ เช่น รถยนต์เหออกนอกทาง.
- เห่ น. ทำนองที่ใช้ร้องในบางพระราชพิธี, ถ้าใช้ร้องเมื่อเวลาพายเรือพระที่นั่งในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เรียกว่า เห่เรือ,
- เห่อ ๑ ว. เป็นผื่นเป็นเม็ดผุดขึ้นมากเป็นพืดไปตามผิวหนัง เช่น มีผื่นเห่อขึ้นเต็มตัว. ๒ ก. แสดงอาการตื่นเต้นยินดีมากจนออกนอกหน้า เช่น เห่อรถ
- ห่อ ก. พันหรือหุ้มสิ่งของด้วยใบไม้หรือกระดาษเป็นต้น; ลักษณนามเรียกของที่หุ้มด้วยใบไม้หรือกระดาษเป็นต้น เช่น ขนมห่อหนึ่ง ข้าว ๒ ห่อ.
- เหิม ว. กำเริบ, ลำพองใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น เหิมเกริม เหิมหาญ เหิมห้าว เหิมฮึก.
- หิม หิมมะ- น. ละอองน้ำในอากาศที่แปรสภาพเป็นของแข็งเพราะอุณหภูมิต่ำ ลักษณะฟูเป็นปุย ลอยลงมาจากท้องฟ้า; ความหนาว, ความเยือกเย็น; ฤดูหนาว. ( ป. , ส.
- ความเห่อเหิม ความทะนงตัว ความโอ้อวด
- มีเหลือเฟือ ที่มากเกินความจําเป็น
- ข้าวเหลือเกลืออิ่ม (สำ) น. บ้านเมืองที่บริบูรณ์ด้วยข้าวปลาอาหาร.
- ผู้ที่มีชื่อเหมือนกัน ผู้มีชื่อเหมือนของคนอื่น
- ก่อเหตุ v. สร้างความเดือดร้อนให้เกิดขึ้น ตัวอย่างการใช้: คนร้ายไม่น่าเลือกก่อเหตุที่โรงเรียน เพราะอันตรายต่อเด็กมาก
- ห่อเหี่ยว ว. มีความรู้สึกหดหู่, สลดใจ, เช่น หมู่นี้อ่านหนังสือพิมพ์มีแต่ข่าวร้าย ๆ ทำให้รู้สึกห่อเหี่ยว.
- ข้อเหวี่ยง น. ส่วนที่ต่อเพลา โดยมากมีลักษณะงอ สำหรับรับกำลังดันหรือกำลังฉุดให้เพลาหมุนรอบ ๆ, ภาษาปากว่า ข้อเสือ. (อ. crank).
- ผู้ก่อเหตุ n. บุคคลที่ทำให้เกิดเค้ามูลหรือเรื่องต่างๆ ขึ้น ( ใช้ในทางที่ไม่ดี ี) ชื่อพ้อง: ผู้ทำ ตัวอย่างการใช้: บ้านเมืองมีบทลงโทษขั้นรุนแรงกับผู้ก่อเหตุ ที่สร้างความเดือดร้อนให้ประชาชน clf.:
- ย่อเหลี่ยม ก. ทำให้มุมของเสาหรือภาชนะเช่นผอบ ตะลุ่ม ลึกเข้าไปทางด้านในเป็นมุม ๙๐ องศา.
ประโยค
- ระบบที่มอบความเห่อเหิมในเกมกีฬา
- ขณะที่เดินทางไม่ได้มีแดด แต่ กิจกรรม ก็ตอบสนองและสนุกสนาน นอกจากนี้ฉันต้องการจะสัมผัสมันใน อา เห่อเหิม !