เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

แต่งโคลง คือ

สัทอักษรสากล: [taeng khlōng]  การออกเสียง:
"แต่งโคลง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • v.
    แต่งถ้อยคำให้เป็นโคลง
    ตัวอย่างการใช้: สุนทรภู่นั้น นอกจากจะมีความสามารถในการแต่งกลอนสุภาพแล้ว ท่านยังแต่งโคลงได้ไพเราะไม่แพ้กัน
  • แต่     ๑ ว. เฉพาะ, อย่างเดียว, เท่านั้น, เช่น เลือกเอาแต่ที่ดี ๆ อยู่แต่ในบ้าน. บ. นำหน้านามบอกเวลาหรือบอกสถานที่ เช่น มาแต่เช้า มาแต่บ้าน
  • แต่ง     ก. จัดให้งาม เช่น แต่งร้าน แต่งบ้าน, ทำให้ดี เช่น แต่งต้นไม้ แต่งผม; จัดตั้ง เช่น แต่งทนาย แต่งราชทูต; จัดแจง เช่น แต่งเครื่องราชบรรณาการ แต่งทัพ;
  • โค     ๑ น. วัว (มักใช้เป็นทางการ) เช่น สั่งซื้อแม่โคพันธุ์ใหม่จากต่างประเทศ. ( ป. , ส. ). ๒ น. พระอาทิตย์ เช่น โคจร = ทางเดินของพระอาทิตย์ โควิถี
  • โคล     ๑ โคน น. ชนกลุ่มหนึ่งในประเทศอินเดียฝ่ายใต้ เช่น ผู้สืบสัมพันธ์โคตรเค้าโคลตระกูล ทิชาเชื้อชาติธชีชูชก. ( ม. ร่ายยาว ชูชก). ๒ โคน น.
  • โคลง     ๑ โคฺลง น. คำประพันธ์ประเภทหนึ่ง มีจำนวนคำในวรรคสัมผัสและบังคับเอกโทตามตำราฉันทลักษณ์. ๒ โคฺลง ก. เอียงไปเอียงมาหรือทำให้เอียงไปเอียงมา
  • คล     คน ( แบบ ) น. คอ เช่น เหลือกตาเมียงเอียงคล. ( ม. คำหลวง กุมาร). ( ป. , ส. ).
  • ลง     ก. ไปสู่เบื้องต่ำหรือไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้ามกับขึ้น เช่น น้ำลง เครื่องบินลง, ไปสู่พื้นดินและพื้นอื่น ๆ เช่น ลงดิน ลงบันได ลงเรือ;
  • แต่งโคลงสดุดี    เขียนโคลงสดุดี
  • คลิ้งโคลง    คฺลิ้งโคฺลง น. นกกิ้งโครง เช่น คลิ้งโคลงคล้อแคล้ในรัง นกเจ่าเหงาฟัง แลสารกระสาสรวลตาง. (สมุทรโฆษ). (ดู กิ้งโครง ๑).
  • นักแต่งโคลงกลอน    กวี คนเขียนบทประพันธ์ คนแต่งบทกวี
  • เกี่ยวกับนักแต่งโคลงกลอน    เกี่ยวกับคนเขียนบทประพันธ์ เกี่ยวกับคนแต่งบทประพันธ์ เกี่ยวกับนักกวี
  • แต่งโคลงซอนเนต    เขียนโคลงซอนเนต
  • ซึ่งโคลงเคลง    ซึ่งโอนเอนไปมา ซึ่งไม่มั่นคง
  • โคลงโบราณ    น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งคล้ายโคลง ๔ มีบังคับสัมผัส แต่ไม่มีบังคับเอกโท เช่น โคลงมหาวิชชุมาลี โคลงมหาสินธุมาลี ซึ่งมีปรากฏอยู่ในตำรากาพย์สารวิลาสินี.
  • บังโคลน    -โกฺลน, -โคฺลน น. เครื่องบังเหนือล้อรถ ป้องกันโคลนมิให้กระเด็นขึ้นมาเปื้อนรถ.