โขนง คือ
สัทอักษรสากล: [kha nōng] การออกเสียง:
"โขนง" การใช้"โขนง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ขะโหฺนง
น. ขนง, คิ้ว.
- โข ( ปาก ) ว. มาก. (กร่อนมาจาก อักโข ซึ่งตัดมาจาก อักโขภิณี).
- โขน ๑ น. การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละครรำ มักเล่นเรื่องรามเกียรติ์ โดยผู้แสดงสวมหัวจำลองต่าง ๆ ที่เรียกว่า หัวโขน. ๒ น.
- ขน ๑ น. สิ่งที่เป็นเส้นขึ้นตามผิวหนังคนและสัตว์ เช่น ขนตา ขนนก ขนเม่น และใช้ตลอดไปจนถึงที่ขึ้นบนผิวต้นไม้ ผลไม้ ใบไม้ และอื่น ๆ, ราชาศัพท์ว่า
- ขนง ขะหฺนง น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง.
- นง น. นาง (ใช้นำหน้าคำอื่น).
- หัวโขน ๑ น. รูปหัวยักษ์ ลิง ที่ใช้สวมเวลาเล่นโขนหรือละคร, โดยปริยายหมายถึงตำแหน่งหน้าที่หรือยศถาบรรดาศักดิ์ที่ดำรงอยู่ มักใช้ในสำนวน เช่น สวมหัวโขน ถอดหัวโขน. ๒ น. เรียกขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวโพดคั่วคลุกน้ำ
- ออกโขน ก. กระโดดโลดเต้นอึกทึกครึกโครมอย่างเล่นโขน, ทำท่าและออกเสียงเอะอะด้วยความโกรธ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ออกยักษ์ เป็น ออกยักษ์ออกโขน.
- เขนง ขะเหฺนง น. เขาสัตว์, เขาวัวเขาควายที่ใช้เป่าบอกอาณัติสัญญาณ; ภาชนะใส่ดินปืน เดิมใช้เขาสัตว์; ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
- แขนง ๑ ขะแหฺนง น. กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แตกใหม่จากลำของไม้พวกไม้ไผ่, กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แยกออกจากกิ่งใหญ่, โดยปริยายหมายถึงส่วนย่อยที่แยกจากส่วนใหญ่ เช่น วิชาฟิสิกส์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์. ๒ ขะแหฺนง ก.
- ข้าวหัวโขน น. ข้าวตากคั่วคลุกน้ำตาลปึก.
- ถอดหัวโขน ก. พ้นจากตำแหน่งหน้าที่หรือยศถาบรรดาศักดิ์.
- สวมหัวโขน ก. เอาหัวโขนสวมศีรษะ, โดยปริยายหมายความว่า ดำรงตำแหน่งหน้าที่ใหญ่โตหรือมียศถาบรรดาศักดิ์แล้วมักลืมตัวชอบแสดงอำนาจ.
- โขนนั่งราว นั่งราว โขนโรงนอก
- ขนงเนื้อ ขะหฺนง- น. หนังสัตว์ที่เผาไฟให้สุกแล้วต้มให้เปื่อย เพื่อปรุงเป็นอาหาร.
- พระขนง ขนง คิ้ว ขนคิ้ว
ประโยค
- โครงการมอบทุนการศึกษา โรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย
- ผู้เต่งเพลง เสน่หาและแม่นาคพระโขนง ครูมนัส ปิติสานต์
- ติดสถานีรถไฟฟ้าพระโขนง ! ที่จอดรถสะดวกสบาย !
- ดู ศูนย์ความงามสโรรักษ์ สาขาพระโขนง ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า
- แขวง คลองเตย เขต พระโขนง จังหวัด กทม .
- ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย
- ถนนสุขุมวิท แขวงบางจาก เขตพระโขนง
- ศูนย์ความงามสโรรักษ์ สาขาพระโขนง
- อีเว้นท์ที่เดอะไฮฟว์ พระโขนง
- ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนงใต้