หัวโขน คือ
สัทอักษรสากล: [hūa khōn] การออกเสียง:
"หัวโขน" การใช้"หัวโขน" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- ๑
น. รูปหัวยักษ์ ลิง ที่ใช้สวมเวลาเล่นโขนหรือละคร, โดยปริยายหมายถึงตำแหน่งหน้าที่หรือยศถาบรรดาศักดิ์ที่ดำรงอยู่ มักใช้ในสำนวน เช่น สวมหัวโขน ถอดหัวโขน.
๒
น. เรียกขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวโพดคั่วคลุกน้ำตาลที่เคี่ยวจนเหนียวว่า ข้าวโพดหัวโขน.
๓
น. ชื่อกุ้งทะเลขนาดใหญ่ในสกุล Panulirus วงศ์ Palinuridae ที่ตอนหัวมีหนามมาก, กุ้งหนามใหญ่ หรือ กุ้งมังกร ก็เรียก.
- หัว ๑ น. ส่วนบนสุดของร่างกายของคนหรือสัตว์; ส่วนของพืชพันธุ์บางอย่างตอนที่อยู่ใต้ดิน เช่น หัวหอม หัวผักกาด, ส่วนที่อยู่ใต้ดินของพืชบางชนิด
- โข ( ปาก ) ว. มาก. (กร่อนมาจาก อักโข ซึ่งตัดมาจาก อักโขภิณี).
- โขน ๑ น. การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละครรำ มักเล่นเรื่องรามเกียรติ์ โดยผู้แสดงสวมหัวจำลองต่าง ๆ ที่เรียกว่า หัวโขน. ๒ น.
- ขน ๑ น. สิ่งที่เป็นเส้นขึ้นตามผิวหนังคนและสัตว์ เช่น ขนตา ขนนก ขนเม่น และใช้ตลอดไปจนถึงที่ขึ้นบนผิวต้นไม้ ผลไม้ ใบไม้ และอื่น ๆ, ราชาศัพท์ว่า
- ข้าวหัวโขน น. ข้าวตากคั่วคลุกน้ำตาลปึก.
- ถอดหัวโขน ก. พ้นจากตำแหน่งหน้าที่หรือยศถาบรรดาศักดิ์.
- สวมหัวโขน ก. เอาหัวโขนสวมศีรษะ, โดยปริยายหมายความว่า ดำรงตำแหน่งหน้าที่ใหญ่โตหรือมียศถาบรรดาศักดิ์แล้วมักลืมตัวชอบแสดงอำนาจ.
- โขนง ขะโหฺนง น. ขนง, คิ้ว.
- ออกโขน ก. กระโดดโลดเต้นอึกทึกครึกโครมอย่างเล่นโขน, ทำท่าและออกเสียงเอะอะด้วยความโกรธ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ออกยักษ์ เป็น ออกยักษ์ออกโขน.
- หัวโค้ง n. บริเวณที่มีลักษณะโค้ง ชื่อพ้อง: หัวเลี้ยว, โค้ง ตัวอย่างการใช้: เมื่อรถแล่นมาถึงหัวโค้ง ผู้ขับควรลดความเร็วลง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
- หัวโจก น. หัวหน้าผู้ประพฤติเกกมะเหรก. ว. เป็นโจกกว่าเพื่อน.
- หัวโล้น ๑ น. หัวที่โกนผมหมด. ๒ ดู กระเบียน (๒).
- หิวโซ v. หิวมาก , ชื่อพ้อง: หิวงั่ก, หิวซ่ก คำตรงข้าม: อิ่มแปล้ ตัวอย่างการใช้: ทุกๆ เย็น หลังจากโรงเรียนเลิก เด็กๆ จะหิวโซกลับบ้านกันทั้งนั้น
- หิวโหย v. อดอยากไม่มีอาหารจะกิน ตัวอย่างการใช้: คนชนบทยากจนมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นไม่ต้องอดอยากหิวโหยต่อไปเพราะความช่วยเหลือจากรัฐ
- โขนนั่งราว นั่งราว โขนโรงนอก
ประโยค
- คอร์สบ้านโขน ได้แก่ งานเขียนหน้าโขน ทำหัวโขนเล็ก
- วิจิตรและหัวโขนร่ายรำไปตามจังหวะดนตรีไทยเดิมด้วยท่วงท่า
- เขาสวมหัวโขนแล้วเป็นยังไงบ้าง
- หัวโขนหลุดจากบ่า คารวะเรา
- กลับไปสวมหัวโขนซะสิ
- มีกี่หน้า กี่หัวโขน
- การสร้างหัวโขนของไทยมีมาแต่โบราณ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นพบหลักฐานศีรษะพระครูในคลังศิลปสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ และศีรษะทศกัณฐ์ของ
- หัวโขนเป็นเครื่องใช้สำหรับสวมศีรษะ และปิดบังส่วนใบหน้าประเภทเดียวกับ หน้ากาก แต่หัวโขนมีลักษณะแตกต่างกันออกไป ตรงที่ทำเป็นรูปหุ่นจำลอง รูปทรงใบหน้า แล
- หัวโขนเป็นเครื่องใช้สำหรับสวมศีรษะ และปิดบังส่วนใบหน้าประเภทเดียวกับ หน้ากาก แต่หัวโขนมีลักษณะแตกต่างกันออกไป ตรงที่ทำเป็นรูปหุ่นจำลอง รูปทรงใบหน้า แล