โจษแจ คือ
สัทอักษรสากล: [jōt jaē] การออกเสียง:
"โจษแจ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- (กลอน) ก. พูดอึง, เล่าลือกันอื้ออึง.
- โจษ โจด, โจดจัน ก. พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, จรรโจษ หรือ จันโจษ ก็ใช้.
- แจ ๑ ว. กระชั้นชิด, ไม่คลาด, ไม่ห่าง, (ใช้ในอาการที่คุมหรือติดตาม) เช่น คุมแจ ตามแจ. ๒ น. อาหารที่ไม่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์
- จันโจษ ก. โจษจัน, พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, ในบทกลอนใช้ว่า จรรโจษ ก็มี.
- โจษจน (กลอน) ก. พูดอึง, เล่าลือกันอื้ออึง.
- โจษจัน โจด, โจดจัน ก. พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, จรรโจษ หรือ จันโจษ ก็ใช้.
- จรรโจษ จันโจด ก. โจษจัน, พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, เช่น จรรโจษประชามี พลพิรียชาญชม. (สมุทรโฆษ), จันโจษ ก็ว่า.
- โจษขาน กล่าวขาน
- ข่าวโจษจัน ข่าวลือ
- เรื่องโจษจัน ข่าวลือ ข่าวเล่าลือ เรื่องที่ได้ยินได้ฟังมา
- โจ่งแจ้ง ว. อย่างเปิดเผย, ไม่ปิดบัง, เช่น เขาแสดงอย่างโจ่งแจ้ง.
- อย่างโจ่งแจ้ง อย่างกระจ่าง อย่างเด่นชัด อย่างเด่ันชัด อย่างเปิดเผย โจ่งครึ่ม โจ่งครุ่ม
- ความโจ่งแจ้ง ความชัดแจ้ง
- ไมเคิล โจ แจ็คสัน ไมเคิล แจ็คสัน แจ็กสัน
- เจษฎา ๑ เจดสะดา น. ผู้เป็นใหญ่ที่สุด, พี่. (ป. เชฏฺ; เชฺยษฺ). ๒ เจดสะดา น. การเคลื่อนไหวอวัยวะ, การไหวมือและเท้า, ท่ารำ; กรรม, การทำด้วยตั้งใจ, การประพฤติ, การตั้งใจทำ, เช่น ภูบาลทุกทวี- ปก็มาด้วยเจษฎา.
- เศษแร่ ขี้แร่ กากแร่ เศษถ่านหิน