โทษกรณ์ คือ
"โทษกรณ์" อังกฤษ
โทดสะกอน
(กลอน) น. โทษ, อาชญา, เช่น รู้สึกซึ่งโทษกรณ์ ตนผิด. (นิทราชาคริต).
- โท ว. สอง, ชั้นที่ ๒ (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศ ตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่าเอก สูงกว่าตรี) เช่น ร้อยโท ข้าราชการชั้นโท ปริญญาโท;
- โทษ โทด, โทดสะ- น. ความไม่ดี, ความชั่ว, เช่น โทษแห่งความเกียจคร้าน, ความผิด เช่น กล่าวโทษ, ผลแห่งความผิดที่ต้องรับ เช่น ถูกลงโทษ, ผลร้าย เช่น
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- รณ รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
- ช่วงนิรโทษกรรม ช่วงอภัยโทษ
- นิรโทษกรรม นิระโทดสะกำ (กฎ) น. ตามกฎหมายแพ่ง หมายถึง การกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ซึ่งกฎหมายบัญญัติว่า ไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เช่น การกระทำการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย การกระทำตามคำสั่งอันชอบด้
- ลงโทษกลับ แก้แค้น
- นักโทษการเมือง n. ผู้ถูกจำขังเพราะมีโทษผิดทางการเมือง clf.: คน
- รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง (สำ) ก. ทำไม่ดีหรือทำผิดแล้วไม่รับผิด กลับโทษผู้อื่น, รำชั่วโทษพากย์ ก็ว่า.
- โทษากร น. พระจันทร์. (ส.).
- ผู้พ้นโทษก่อนกําหนด นักโทษที่ถูกปล่อยจากคุกก่อนกําหนด
- โทษ- โทด, โทดสะ- น. ความไม่ดี, ความชั่ว, เช่น โทษแห่งความเกียจคร้าน, ความผิด เช่น กล่าวโทษ, ผลแห่งความผิดที่ต้องรับ เช่น ถูกลงโทษ, ผลร้าย เช่น ยาเสพติดให้โทษ. ก. อ้างเอาความผิดให้ เช่น อย่าโทษเด็กเลย. (ส
- พิจารณาลงโทษ ชี้ขาด สั่งตัดสินใจให้
- โทโทษ น. คำที่ใช้ไม้เอกโดยปรกติ แต่เปลี่ยนใช้ไม้โทเสียงเดียวกัน ในบทนิพนธ์ที่บังคับให้ใช้ไม้โท เช่น ง่าย เป็น หง้าย, พลั่ง เป็น ผลั้ง.
- โทษานุโทษ น. ความผิดมากและน้อย.