โหน่ง คือ
"โหน่ง" การใช้
โหฺน่ง
ว. มีเสียงอย่างเสียงตีฆ้องวง.
- โหน โหนฺ ก. เหนี่ยวห้อย, เอามือเหนี่ยวให้ตัวลอยขึ้นไป; ( ปาก ) ประจบประแจง เช่น เขามีนิสัยชอบโหนผู้บังคับบัญชา.
- หน น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
- น้อยโหน่ง น. ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดกลางชนิด Annona reticulata L. ในวงศ์ Annonaceae ดอกคล้ายดอกน้อยหน่า แต่ผลโตกว่า เปลือกบางแต่เหนียว ค่อนข้างเรียบ ไม่นูนเป็นตา ๆ สีเขียวจาง ๆ ปนสีแดงเรื่อ ๆ เนื้อในผลหนาข
- หนึ่งโหล 12 ๑๒ สิบสอง โหล 12 ชิ้น
- โหนก โหฺนก ว. นูนยื่นออกมา เช่น หน้าผากโหนก.
- โหม่ง ๑ โหฺม่ง ก. เอาหัวรับหรือกระแทกลูกตะกร้อหรือฟุตบอลเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ่งหนึ่งตกลงมากระแทกพื้นอย่างแรง เช่น หัวโหม่งพื้นเครื่องบินโหม่งโลก. ๒ โหฺม่ง (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ฆ้องคู่. ว. เสีย
- โหย่ง ๑ โหฺย่ง ก. ทำให้สูงขึ้น เช่น โหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น โหย่งฟาง โหย่งผม โหย่งเส้นบะหมี่, หย่ง ก็ว่า. ๒ โหฺย่ง ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเ
- โหย่ง ๆ โหฺย่ง ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทำให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินโหย่ง ๆ วิ่งโหย่ง ๆ, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้า
- ห้อยโหน ก. อาการที่เกาะราวหรือห่วงเป็นต้น แล้วโยนตัวไปมา.
- เป็นโหนก ยื่นออกมา เป็นนูนออกมา เป็นปุ่ม
- โหนกอูฐ หนอก โคก ตะโหงก
- โหหนาน เหอหนาน
- กะโหล้ง -โล่ง (ถิ่น-พายัพ) น. กะโหลก.
- หยิบโหย่ง ว. กรีดกราย, ทำอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน, ไม่ทะมัดทะแมง, เช่น ท่าทางหยิบโหย่งอย่างนี้ จะไปทำมาหากินอะไรได้.
- โหมกําลัง ระดมกําลัง
ประโยค
- ไม่มีการเผาหุ่น พี่โหน่ง วสันต์แถวนี้ด้วย
- แจ๊ส-โหน่ง-รัศมีแข-แน็ก เปิด ท .ป .ฮ .ป เที่ยวไปฮาไปกับไทยแลนด์โอนลี่
- รายการ เท่ง โหน่ง ผจญภัย
- หม่ำ เท่ง โหน่ง ไรเงี้ย
- โหน่ง เอกพล อุตประชา