กรรโหย คือ
สัทอักษรสากล: [kan hōi] การออกเสียง:
"กรรโหย" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
กัน-
(โบ; กลอน) ก. โหย, คร่ำครวญ, เช่น มีกระเรียนร้องก้องกรรโหย. (สมุทรโฆษ ).
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- รโห น. ลับ, สงัด, เงียบ. ( ป. ).
- โหย โหยฺ ก. อ่อนกำลัง, อ่อนใจ; ครวญถึง, ร่ำร้อง; มักใช้ประกอบคำอื่น ๆ เช่น โหยหา โหยหิว โหยหวน โหยไห้.
- หย หะยะ- น. ม้า. ( ป. , ส. ).
- การโหยหา n. การคร่ำครวญหา ชื่อพ้อง: ความปรารถนา ตัวอย่างการใช้: การโหยหาความรักเป็นพฤติกรรมของคนที่ขาดความอบอุ่นในวัยเด็ก
- การโหยไห้ การคร่ําครวญ การร่ําไห้ ความโศกเศร้าเสียใจ
- กระโหย -โหยฺ (กลอน) ก. โหย คือ ร้องไห้, คร่ำครวญ.
- กระโหย่ง ๑ -โหฺย่ง ก. ทำให้สูงขึ้น เช่น กระโหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น กระโหย่งฟาง, กระหย่ง หย่ง หรือ โหย่ง ก็ว่า. ๒ -โหฺย่ง ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปล
- กรรโชก กัน- ก. ขู่เอาด้วยกิริยาหรือวาจาให้กลัว, เขียนเป็น กันโชก หรือ กำโชก ก็มี. (แผลงมาจาก กระโชก). (กฎ) น. ชื่อความผิดอาญาฐานข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทร
- อโหสิกรรม อะ- น. กรรมที่เลิกให้ผล; การเลิกแล้วต่อกัน, การไม่เอาโทษแก่กัน. (ป. อโหสิกมฺม).
- โหมกรรม น. พิธีเซ่นสรวง. (ส. โหม + กรฺมนฺ).
- รโหคต ว. ผู้ไปในที่ลับ, ผู้อยู่ในที่สงัด. (ป.).
- ขู่กรรโชก ก. ทำให้กลัวโดยแสดงกิริยาอาการจะทำร้าย.
- ผู้กรรโชก ผู้ตัดราคา มีดโกนไฟฟ้า มีดไสกบ เครื่องโกน เครื่องไสกบ