ทุราจาร คือ
"ทุราจาร" อังกฤษ
- น. ความประพฤติชั่วช้าเลวทรามในที่ซึ่งไม่ควร. (ป.).
- ทุ ๑ ว. คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทำได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า
- ทุร ทุระ- ว. คำประกอบหน้าคำศัพท์ หมายความว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, น้อย, ไม่มี, เช่น ทุรค ว่า ที่ไปถึงยาก, ทางลำบาก. ( ส. ).
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- จา ( ถิ่น-พายัพ, อีสาน ) ก. พูด, กล่าว.
- จาร ๑ จาน ก. ใช้เหล็กแหลมเขียนลงบนใบลานหรือศิลาเป็นต้นให้เป็นตัวหนังสือ เช่น จึงจารจารึกอันนี้ไว้อีกโสด. (ศิลาจารึกเขาสุมนกูฏ).
- โหราจารย นักโหราศาสตร์
- โหราจารย์ น. ผู้ชำนาญในวิชาโหราศาสตร์.
- ทักษิณาจาร น. ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่งนับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบขวาหรือฝ่ายขวา มีพิธีกรรมเปิดเผย ไม่มีลามกอนาจาร, คู่กับ วามาจาร, ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทำนองเดียว
- มนุสาราจารย์ มนุสาร มนูสาร มโนสาร
- ทําจาก ประกอบ สร้างจาก สร้างด้วย
- ศาสตราจารย์ สาดตฺรา-, สาดสะตฺรา- น. ตำแหน่งทางวิชาการชั้นสูงสุดของสถาบันระดับอุดมศึกษา.
- อาจารย์ที่ปรึกษา n. อาจารย์ที่ทำหน้าที่ให้คำปรึกษากับศิษย์ที่อยู่ในความปกครอง ตัวอย่างการใช้: นักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อปรึกษาปัญหาได้ทุกประเภท clf.: คน
- อาจาร -จาน, -จาระ- น. ความประพฤติ, ความประพฤติดี; จรรยา, มรรยาท; ธรรมเนียม, แบบแผน, หลัก. (ป., ส.).
- อาจาร- -จาน, -จาระ- น. ความประพฤติ, ความประพฤติดี; จรรยา, มรรยาท; ธรรมเนียม, แบบแผน, หลัก. (ป., ส.).
- อาจารี น. ผู้มีจรรยา, ผู้ทำตามคติแบบแผน. (ส. อาจารินฺ).