พิชญ์ คือ
สัทอักษรสากล: [phit] การออกเสียง:
"พิชญ์" การใช้"พิชญ์" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- น. นักปราชญ์, คนมีความรู้สูง. (ส. วิชฺ).
- พุทธปรัชญา n. หลักแห่งความรู้และความจริงในศาสนาพุทธ ตัวอย่างการใช้: ในพุทธปรัชญาเราไม่พบความคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเช่นที่พบในปรัชญาตะวันตก
- (ปรัชญา) เป็นคำที่ใช้ในปรัชญา
- ปรัชญา ปฺรัดยา, ปฺรัดชะยา น. วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง. (ส.).
- ปราชญ นักปราชญ์ ผู้มีปัญญา ผู้รู้
- ปราชญ์ ปฺราด น. ผู้มีปัญญารอบรู้. (ส. ปฺราชฺ).
- ปรีชญา ปฺรีดยา (แบบ) น. ปรีชา เช่น อันประกอบด้วยจักษุคือปรีชญา. (นันโท). (ส. ปริชฺา).
- มโนชญ์ ว. เป็นที่พอใจ, งาม. (ส.).
- ราชญี ราดยี (แบบ) น. ราชินี. (ส.).
- วิชญะ วิดยะ น. ผู้รู้, ผู้ฉลาด, ปราชญ์. (ส.).
- สรรพัชญ (แบบ) น. สรรเพชญ. (ส. สรฺวชฺ).
- สหัชญาณ การรู้โดยความรู้สึกที่เกิดขึ้นเองในใจ การรู้โดยสัญชาตญาณ การหยั่งรู้ความเข้าใจอันซาบซึ้ง ความสามารถในการเข้าใจโดยสัญชาตญาณ
- อภิปรัชญา อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา. (อ. metaphysics).
- อาชญัปติ อาดยับติ, อาดยับ น. ข้อบังคับ, คำสั่ง, กฎ, ใช้ว่า อาญัปติ์ ก็มี เช่น รัตนาญัปติ์. (ส. อาชฺปฺติ; ป. อาณตฺติ).
- อาชญัปติ์ อาดยับติ, อาดยับ น. ข้อบังคับ, คำสั่ง, กฎ, ใช้ว่า อาญัปติ์ ก็มี เช่น รัตนาญัปติ์. (ส. อาชฺปฺติ; ป. อาณตฺติ).
- อาชญา อาดยา, อาดชะยา น. อำนาจ; โทษ (มักใช้สำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย) เช่น พระราชอาชญา. (ส.; ป. อาณา); (กฎ; โบ; เลิก) คดีที่เกี่ยวกับโทษหลวง เรียกว่า คดีอาชญา หรือ ความอาชญา, คู่กับ ความแพ่ง ซึ่งไม่เ
ประโยค
- พญ . อรพิชญ์ ขยันกิจ งดออกตรวจที่ สมิติเวช ศรีนครินทร์ ในวันนี้
- “ บิ๊ก อัครวัชร ” เคลียร์ หลัง “ เมย์ พิชญ์นาฏ ” ถูกแฉคบคนมีเจ้าของ
- นาย พิชญ์ โพธารามิก
- กนกพิชญ์ รุ่งโรจน์
- นายพิชญ์ โพธารามิก
- การผลิตดอกไม้ประดิษฐ์จากดินหอมเกิดจากแรงบันดาลใจ ของ น .ส . วณิชยา ภู่รัตนาพิชญ์ หลังจากประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์จนเป็นอัมพาต ไม่สามารถทำงานที่บริษัทเดิม