มัชฌิมชนบท คือ
- น. ในสมัยพุทธกาลหมายถึง ดินแดนส่วนกลางของประเทศอินเดียอันเป็นที่อยู่ของพวกอริยกะ เป็นถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งนครใหญ่ ๆ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และเป็นที่ประชุมของนักปราชญ์ คณาจารย์ เจ้าลัทธิต่าง ๆ.
- มัช มัดชะ- น. น้ำเมา, ของเมา. ( ป. มชฺช).
- มัชฌ มัดชะ- น. ท่ามกลาง. ( ป. ; ส. มธฺย).
- มัชฌิม มัดชิมะ-, มัดชิมมะ-, มัดชิม- ว. ปานกลาง. ( ป. มชฺฌิม).
- ชน ๑ ก. โดนแรง ๆ เช่น รถยนต์ชนต้นไม้, ชิดจนติด เช่น ตั้งตู้ชนฝา; บรรจบ เช่น ชนขวบ; ให้ต่อสู้กัน เช่น ชนโค ชนไก่. น.
- ชนบท ชนนะบด น. บ้านนอก, เขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป. ( ป. , ส. ชนปท).
- นบ ( กลอน ) ก. ไหว้, นอบน้อม.
- บท ๑ บด, บดทะ- น. ข้อความเรื่องหนึ่ง ๆ หรือตอนหนึ่ง ๆ เช่น บทที่ ๑ บทที่ ๒; กำหนดคำประพันธ์ที่ลงความตอนหนึ่ง ๆ เช่น โคลง ๔ สุภาพ ๔ บาท เป็น ๑ บท;
- ชุมชนชนบท ชุมชนเกษตร
- สังคมชนบท ้ชีวิตในชนบท
- คนชนบท คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณห่างไกล คนต่างจังหวัด คนบ้านนอก ชาวบ้าน ชาวชนบท
- พื้นที่ชนบท พื้นที่ทําการเกษตร พื้นที่ทํานาหรือไร่ พื้นที่ไม่ใช่นครหลวง
- เด็กชนบท เด็กต่างจังหวัด เด็กบ้านนอก
- ในชนบท ของชนบท
- งดงามตามธรรมชาติแบบชนบท เรียบง่ายและมีเสน่ห์แบบชนบท
- มัชฌ- มัดชะ- น. ท่ามกลาง. (ป.; ส. มธฺย).