เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กรรเหิม คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • กัน-
    (โบ; กลอน) ก. เหิม เช่น กรรเหิมหายหว่นนหว่า. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กรร     ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
  • เห     ก. เบนไป เช่น เหหัวเรือ, เขว เช่น เขาเหไปเข้าข้างศัตรู, เฉ เช่น รถยนต์เหออกนอกทาง.
  • เหิม     ว. กำเริบ, ลำพองใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น เหิมเกริม เหิมหาญ เหิมห้าว เหิมฮึก.
  • หิม     หิมมะ- น. ละอองน้ำในอากาศที่แปรสภาพเป็นของแข็งเพราะอุณหภูมิต่ำ ลักษณะฟูเป็นปุย ลอยลงมาจากท้องฟ้า; ความหนาว, ความเยือกเย็น; ฤดูหนาว. ( ป. , ส.
  • กรรมกรเหมืองถ่านหิน    กรรมกรขุดถ่านหิน คนงานเหมืองถ่านหิน
  • กรรมกรเหมืองแร่    คนงานเหมือง คนงานเหมืองแร่
  • พรรเหา    พัน- ว. มาก, ยิ่ง, พันเหา ก็ใช้ เช่น คือ เทพเพียงพันเหา. (สมุทรโฆษ).
  • กรรเกด    กัน- (กลอน) น. การะเกด เช่น จงกลกรรเกดแก้ว กรองมาลย์. (ทวาทศมาส).
  • กรรเจียก    กัน- น. เครื่องประดับหูมีรูปเป็นกระหนก เช่น กรรเจียกซ้อนจอนแก้วแพรวพราว. (อิเหนา). [ข. ตฺรเจียก ว่าหู].
  • กรรเชอ    กัน- (โบ) น. กระเชอ.
  • กรรเชียง    กัน- น. เครื่องพุ้ยน้ำให้เรือเดิน รูปคล้ายแจว มีหลักสำหรับพาด ใช้เหนี่ยว; อาการที่พุ้ยเช่นนั้น เรียกว่า ตีกรรเชียง, ใช้ว่า กระเชียง ก็มี.
  • กรรเช้า    กัน- (โบ) น. กระเช้า.
  • กรรเอา    กัน- (โบ; กลอน; แผลงมาจาก กระเอา) ว. กลมกล่อม เช่น ไพเราะรสหวาน บรรสานกรรเอาเอาใจ. (สมุทรโฆษ).
  • กรรพุม    กัน- (โบ; แผลงมาจาก กระพุ่ม) น. มือที่ประนม เช่น ถวายกรกรรพุม. (ม. คำหลวง ทศพร); พุ่ม เช่น กรรพุมมาลย์ = พุ่มดอกไม้.