เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กระโบม คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ

  • ก. ตระโบม, โลมเล้า, กอด, เช่น ยักษ์ผยองโพยมแลกระโบมถนอมพนิดไคล. (สรรพสิทธิ์).

    (ถิ่น-อีสาน) น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุดรูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กระบม ก็เรียก.
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กระ     ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • โบ     น. เชือกหรือริบบิ้นทำเป็นห่วง ๒ ห่วงคล้ายหูกระต่ายแล้วผูกไขว้กันเป็นเงื่อนกระทก. ( อ. bow).
  • ตระโบม    ตฺระ- (กลอน) ก. โลมเล้า, กอด, กระโบม ก็ว่า.
  • ตะโบม    ก. เล้าโลม, โอบกอด.
  • ละโบม    ก. โลม, ลูบคลำ, เคล้าคลึง.
  • กระบม    pic012.jpg (กระบม) (ถิ่น-อีสาน) น. ภาชนะชนิดหนึ่งทำด้วยไม้ขุดรูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วย
  • กระโห้    น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Catlocarpio siamensis ในวงศ์ Cyprinidae หัวโต เกล็ดใหญ่ ลำตัวด้านหลังสีเทาดำ หางและครีบสีแดงคล้ำหรือส้ม พบในแม่น้ำใหญ่หลายสายของประเทศไทย เคยพบขนาดยาวได้ถึง ๓ เมตร นับเป็นปลาน้ำ
  • กระโงก    (กลอน) น. นกยูง, กุโงก ก็ว่า. (เทียบ ข. โกฺงก).
  • กระโจน    ก. กระโดดพุ่งไปโดยเร็ว, เผ่นข้ามไป, โจน ก็ว่า.
  • กระโจม    ๑ น. สิ่งที่ตามปรกติมียอดเป็นลอมอย่างซุ้ม ใช้เป็นเครื่องกำบังแดดลมเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง (๑) สิ่งที่รวมกันเข้าเป็นลอม เช่น กระโจมปืน. (๒) สิ่งที่ผูกรวบยอดให้รวมกัน เช่น ปากผูกกระโจม. (๓) ผ้าที่ทำ
  • กระโฉม    น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Limnophila rugosa Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ลำต้นและกิ่งอวบน้ำ สีม่วง ใบรูปไข่ ค่อนข้างหนา ด้านล่างมีขน ขอบหยักห่าง ๆ ก้านใบแบน ๆ โคนก้านโอบกิ่งหรือลำต้น
  • กระโชก    ว. กระแทกเสียง เช่น พูดกระโชก เห่ากระโชก; ทำให้กลัว, ทำให้ตกใจ, เช่น ขู่กระโชก, กระแทก เช่น ม้าก็กระโชกวิ่งหนักเข้า. (ประวัติ. จุล), ลมกระโชกแรง. (ประพาสมลายู).
  • กระโดก    ว. โอนไปโอนมา, ยกขึ้นยกลง.