กะกร่อม คือ
สัทอักษรสากล: [ka krǿm] การออกเสียง:
"กะกร่อม" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. เครื่องมือจับปูทะเล เป็นของชาวประมงตั้งแต่จังหวัดชุมพรถึงสุราษฎร์ธานี, บางทีเรียกว่า กร่อม หรือ ตะกร่อม, ใช้ไม้ไผ่อันเดียวผ่าตอนปลายออกเป็น ๔ ซี่ และซี่เหล่านั้นเหลาให้อ่อน จะเป็นรูปกลมหรือแบนก็ได้ เอาวงแหวนทำด้วยไม้ไผ่หรือหวายหรือลวดใส่ในหว่างซี่เหล่านั้นเพื่อบังคับให้ถ่างออก.
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กร่อม ( โบ ) ว. ช้า ๆ เงื่อง ๆ แต่ทำเรื่อยไป (มักใช้แก่การเดิน พายเรือ หรือลุยน้ำ) เช่น เดินกร่อม ๆ กรำฝนฟ้า พายเรือกร่อม ๆ. ( อักษรประโยค ).
- ร่อ ( กลอน ) ก. จ่อ, จด. ว. ใกล้.
- อม ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (
- กะกร้าว (กลอน) ว. มีเสียงอย่างขบฟันดังกร้วม ๆ, (โบ) เขียนเป็น กกร้าว ก็มี เช่น กเกรอกขบฟนนก็ดูร้าว กกร้าวขบฟนนกดูแรง. (ม. คำหลวง มหาราช).
- ตะกร่อม -กฺร่อม น. เครื่องมือจับปูทะเล. (ดู กะกร่อม).
- เกะกะ ว. กีด, ขวาง, ไม่เป็นระเบียบ, เช่น วางของเกะกะ; ประพฤติเป็นพาลเกเร เช่น คนเกะกะ.
- กะกลิ้ง น. โกฐกะกลิ้ง. (ดู โกฐกะกลิ้ง).
- กะกัง น. พี่ชาย. (ช. kakang).
- กะกึก (กลอน) ว. กึก ๆ เช่น ดังกะกึกกุกกักชักสายพาดขึ้นกับไก. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
- กะก่อง (กลอน) ว. งดงาม เช่น คางเพลาคือกลวิมลกัณ- ฐกะก่องคือแสงสรวล. (สมุทรโฆษ).
- ฉะกะ ก. ระกะ เช่น โกมุทอุบลบานฉะกะ. (อนิรุทธ์).
- ระกะ ก. มากเกะกะ, ใช้เข้าคู่กับคำ ระเกะ เป็น ระเกะระกะ.
- กีดเกะกะ ขวางๆ รีๆ รีๆ ขวางๆ เก้งก้าง