เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กะบ่อนกะแบ่น คือ

สัทอักษรสากล: [ka bǿn ka baen]  การออกเสียง:
"กะบ่อนกะแบ่น" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ว. กระท่อนกระแท่น, ไม่เสมอทั่วกัน, ไม่เรียบเสมอกัน, เช่น ตัดผมกะบ่อนกะแบ่น ทาสีกะบ่อนกะแบ่น.
  • กะ     พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
  • บ่     บอ, บ่อ ว. ไม่, มักใช้ในหนังสือเก่าหรือกวีนิพนธ์ หรือบางท้องถิ่น, ในที่ใช้ บ เมื่อใช้ว่า บ่ ก็มีความเช่นเดียวกัน.
  • บ่อ     น. ช่องลึกลงไปในดินหรือในหินใช้เป็นที่ขังน้ำขังปลาเป็นต้น หรือเป็นแหล่งที่เกิดของสิ่งบางอย่าง เช่น บ่อเกลือ บ่อถ่านหิน บ่อแร่.
  • บ่อน     น. แหล่งเป็นที่ชุมนุมกันเพื่อเล่นการพนัน เช่น บ่อนไก่ บ่อนเบี้ย บ่อนไพ่, แหล่งเป็นที่ชุมนุมกันเพื่อการบางอย่างมีเล่นสักวาหรือเล่านิทานเป็นต้น เช่น
  • อน     อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
  • นก     ๑ น. ชื่อสัตว์มีกระดูกสันหลังเลือดอุ่น มี ๒ เท้า ๒ ปีก และมีขนปกคลุมร่างกาย ออกลูกเป็นไข่ก่อนแล้วจึงฟักเป็นตัว. ๒ น.
  • แบ     ก. แผ่ให้แบนออก เช่น แบมือ, กางแผ่ออก เช่น แบหนังสือไว้. ว. อาการที่เปิดแผ่หรือวางทิ้งไว้อย่างไม่เอาใจใส่เป็นต้น เช่น นอนแบ เปิดแบไว้ ทิ้งแบไว้.
  • บ่น     ก. พูดพร่ำหรือว่ากล่าวซ้ำ ๆ ซาก ๆ; กล่าวซ้ำ ๆ กัน เช่น ท่องบ่นภาวนา.
  • กะบอนกะบึง    (กลอน) ก. โกรธอย่างแสนงอน, โดยมากใช้ กะบึงกะบอน. ว. ไม่รู้จักจบ, เง้า ๆ งอด ๆ, (ใช้แก่กริยาบ่น) เช่น คอยสะบัดปัดกรกะบอนกะบึง. (อิเหนา), โดยมากใช้ กะบึงกะบอน.
  • กะบึงกะบอน    ก. โกรธอย่างแสนงอน, กะบอนกะบึง ก็ว่า. ว. ไม่รู้จักจบ, เง้า ๆ งอด ๆ, (ใช้แก่กริยา บ่น), กะบอนกะบึง ก็ว่า.
  • กะแอน    (ถิ่น-พายัพ) น. ต้นกระชาย. (ดู กระชาย).
  • กะแป้น    น. เรือหางแมงป่องขนาดเล็ก มีใช้มากตามลำน้ำปิง.
  • แบกะดิน    (ปาก) น. เรียกแผงขายของที่วางสินค้าบนพื้นริมทางเดินว่า ร้านแบกะดิน.
  • กะแผนการ    วางแผน วางโครงการ วางแผนงาน
  • อนีกะ    อะนีกะ-, อะนึก น. กองทัพในสมัยโบราณ, เมื่อใช้เป็นส่วนท้ายของสมาสใช้ว่า อนีกะ บ้าง อนึก บ้าง เช่น ปัตตานีกะ ปัตตานึก = กองทัพเหล่าราบ กองทัพทหารเดินเท้า, อัศวานีกะ อัศวานึก = กองทัพม้า เหล่าทหารม้า.