กะปะ คือ
สัทอักษรสากล: [ka pa] การออกเสียง:
"กะปะ" การใช้"กะปะ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- น. ชื่องูพิษชนิด Calloselasma rhodostoma ในวงศ์ Viperidae ตัวยาว ๕๐-๘๐ เซนติเมตร ลายสีน้ำตาลเข้ม บนหลังมีลายรูปสามเหลี่ยมสีน้ำตาลแก่เรียงสลับเยื้องกันเป็นคู่ ๆ จมูกงอน ริมฝีปากเหลือง และมีแนวสีเหลืองพาดบนลูกตาถึงมุมปาก, ตัวที่มีสีคล้ำเรียก งูปะบุก.
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- ปะ ก. มาเจอกัน, มาประเชิญหน้ากัน; เอาวัตถุเช่นผ้าหรือไม้เป็นต้นปิดทับส่วนที่ชำรุดเป็นช่องเป็นรู เช่น ปะผ้า ปะว่าว, ปิดทับ เช่น ปะหน้า.
- งูกะปะ งูหางกระดิ่ง งูหางดังรัว
- เปะปะ ว. ไม่ตรงเป้า เช่น ชกเปะปะ, ไม่ตรงประเด็น เช่น พูดเปะปะ ให้การเปะปะ, ไม่ตรงทาง เช่น เมาเหล้าเดินเปะปะ, ไม่เป็นระเบียบ เช่น นอนมือเท้าเปะปะ, บางทีใช้ว่า สะเปะสะปะ.
- กะปิ น. ของเค็มทำด้วยเคยกับเกลือโขลกและหมักไว้ใช้ปรุงอาหาร, เยื่อเคย ก็ว่า. (พม่า ว่า งาปิ).
- กะปู (ปาก) น. ตะปู.
- ปะปน ก. ปนกัน (มักใช้ในลักษณะที่สิ่งต่างชนิดต่างประเภทระคนปนกัน), บางทีก็ใช้หมายความอย่างเดียวกับ ปน.
- กะปริบ -ปฺริบ ก. กะพริบ, มักใช้ซ้ำคำว่า กะปริบ ๆ หมายความว่า กะพริบถี่ ๆ เช่น ทำตากะปริบ ๆ, ปริบ ๆ ก็ว่า.
- กะปอม (ถิ่น-อีสาน) น. กิ้งก่า. (ดู กิ้งก่า).
- กะปั่น (โบ) น. กำปั่น. (ตำนานอักษรไทย ของเซเดส์).
- กะปูด น. ชื่อนกในวงศ์ Centropodidae ขนปีกสีน้ำตาลแดง ลำตัวสีดำ ร้องเสียง “ปูด ๆ” เดินหรือวิ่งหากินตามพื้นป่าโปร่ง บินได้ในระยะทางสั้น ๆ มี ๓ ชนิด คือ กะปูดใหญ่ (Centropus sinensis) กะปูดเล็ก (C. bengalens
- ควักกะปิ (ปาก) ก. อาการที่รำเอามือวักไปวักมาอย่างคนรำไม่เป็น.
- ต้มกะปิ น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ปรุงด้วยหัวหอม กะปิ พริกไทย อย่างแกงเลียง.
- แกะป่า ovis musimon
- ขึ้นเปะปะ คุยเรื่อยเปื่อย เขียนเรื่อยเปื่อย เดินเที่ยว เลื้อยไปทั่ว
ประโยค
- งูกะปะ ก็สร้างโดยพระเจ้า แต่มันไม่ได้ดีกับเรา
- รองเท้าแตะล้างทำความสะอาดโรงแรมขนแกะปะการังสำหรับผู้เข้าพัก
- แคเปลี มีโดยกัดงูกะปะ
- ฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาวหญิงชายเด็กชุดนอนเด็กผ้าสักหลาดในการ์ตูนวันพีชชุดบ้านเด็กขนแกะปะการัง
- ฤดูใบไม้ผลิและฤดูหนาวที่ชายและหญิงคู่รักชุดนอนผ้าสักหลาดขนแกะปะการังบางชนิดคุณภาพสูงคู่กับเซ็กซี่ผ้าบางชั้นเดียว