กะปู คือ
"กะปู" การใช้"กะปู" อังกฤษ
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- ปู ๑ น. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea มีรยางค์ขา ๕ คู่ คู่แรกเป็นก้าม รยางค์ที่ปล้องท้องไม่ใช้ในการว่ายน้ำ มีหลายวงศ์ เช่น
- กะปิ น. ของเค็มทำด้วยเคยกับเกลือโขลกและหมักไว้ใช้ปรุงอาหาร, เยื่อเคย ก็ว่า. (พม่า ว่า งาปิ).
- กะปริบ -ปฺริบ ก. กะพริบ, มักใช้ซ้ำคำว่า กะปริบ ๆ หมายความว่า กะพริบถี่ ๆ เช่น ทำตากะปริบ ๆ, ปริบ ๆ ก็ว่า.
- กะปอม (ถิ่น-อีสาน) น. กิ้งก่า. (ดู กิ้งก่า).
- กะปะ น. ชื่องูพิษชนิด Calloselasma rhodostoma ในวงศ์ Viperidae ตัวยาว ๕๐-๘๐ เซนติเมตร ลายสีน้ำตาลเข้ม บนหลังมีลายรูปสามเหลี่ยมสีน้ำตาลแก่เรียงสลับเยื้องกันเป็นคู่ ๆ จมูกงอน ริมฝีปากเหลือง และมีแนวสีเหลือ
- กะปั่น (โบ) น. กำปั่น. (ตำนานอักษรไทย ของเซเดส์).
- กะปูด น. ชื่อนกในวงศ์ Centropodidae ขนปีกสีน้ำตาลแดง ลำตัวสีดำ ร้องเสียง “ปูด ๆ” เดินหรือวิ่งหากินตามพื้นป่าโปร่ง บินได้ในระยะทางสั้น ๆ มี ๓ ชนิด คือ กะปูดใหญ่ (Centropus sinensis) กะปูดเล็ก (C. bengalens
- ควักกะปิ (ปาก) ก. อาการที่รำเอามือวักไปวักมาอย่างคนรำไม่เป็น.
- งูกะปะ งูหางกระดิ่ง งูหางดังรัว
- ต้มกะปิ น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ปรุงด้วยหัวหอม กะปิ พริกไทย อย่างแกงเลียง.
- แกะป่า ovis musimon
- กะป้ำกะเป๋อ ว. เลอะ ๆ เทอะ ๆ, หลง ๆ ลืม ๆ, ป้ำเป๋อ หรือ ป้ำ ๆ เป๋อ ๆ ก็ว่า.
- กะป้ํากะเป๋อ ป้ําเป๋อ ป้ําๆ เป๋อๆ หลงๆ ลืมๆ หลงลืม เลอะเทอะ
- กะเปิ๊บกะป๊าบ (ปาก) ว. พูดเสียงดังเอะอะและไม่ระมัดระวังวาจาหรือท่าทาง, มีกิริยาท่าทางหรือแต่งตัวรุงรังไม่เรียบร้อย.
ประโยค
- หลานและปู่เห็นกวาง คุณคิดว่า หลานจะพูดอะไรกะปู่
- ~ กรุณาแกะปูให้หน่อยค่ะ ~ พูดอย่างมีมารยาทแบบนี้ !
- วันนั้นที่เธอแกะปูให้ ฉันรู้สึกได้ว่าเธอเป็นคนดี
- เวลาเลือกลูกเขย เขาวัดกันที่ใครแกะปูเก่งกว่า
- เพื่อนกะปู๋เสริมใยเหล็กของฉัน ตกลงมาช่วยฉัน
- และกะปู๋ของเจ้าจะโผล่มาก่อนที่ข้าจะกระพริบตาเสียอีก
- อยู่ข้างๆกะปู๋ฉันไง หรือนั่นปุ่มเปิดวะ ?
- ผมบอกได้ว่า หมวกนี่เหม็นเหมือนกะปู๋เลย
- เจอกันวันศุกร์นะจ๊ะ พ่อนกกะปู๋จุ๊กกรู้
- กะปู๋เจ้าอย่างกะเศษเล็บฉีก ครั้งแรกที่ข้าเห็นเจ้าถอดกางเกง
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2 3