เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กะเอาว่า คือ

การออกเสียง:
"กะเอาว่า" การใช้"กะเอาว่า" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ตีเสียว่า
    ประมาณว่า
  • กะ     พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
  • เอ     ๑ ว. หนึ่ง; เปลี่ยว, เดี่ยว, เช่น เอองค์. ( ตัดมาจาก เอก). ๒ อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ สงสัย เป็นต้น.
  • เอา     ๑ ก. ยึด เช่น เอาไว้อยู่; รับไว้ เช่น เขาให้ก็เอา; พา, นำ, เช่น เอาตัวมา; ต้องการ เช่น ทำเอาชื่อ ทำงานเอาหน้า; ถือเป็นสำคัญ เช่น เจรจาเอาถ้อยคำ
  • อา     ๑ น. น้องของพ่อ, ( โบ ) เขียนเป็น อาว์ ก็มี. (อีสาน อา ว่า น้องสาวของพ่อ, อาว ว่า น้องชายของพ่อ). ๒ ( กลอน ) ว.
  • อาว     ( ถิ่น-อีสาน ) น. อาผู้ชาย, น้องชายของพ่อ.
  • ว่า     ก. พูด, บอก, เช่น เขาว่า ที่นี่ฝนตกทุกวัน; ดุ เช่น อย่าเอะอะไป เดี๋ยวครูว่าเอา, ติ เช่น ดีแต่ว่าเขา; ดุด่าว่ากล่าว เช่น ว่าไม่ได้ ก็เลี้ยงไม่ได้;
  • เอาแกะเข้าคอก    ใส่คอก
  • กะเอว    น. เอว เช่น ถวัดเท้าท่าเตะมวย ตึงเมื่อย หายฮา แก้กะเอวขดค้อม เข่าคู้โขยกโขยง. (จารึกวัดโพธิ์),สะเอว ก็ว่า.
  • ถือเอาว่า    คาดว่า คิดว่า สมมติ สมมุติ คือ คือว่า ตกว่า รวมความว่า ลงความว่า
  • ทึกทักเอาว่า    สันนิษฐาน
  • สมมุติเอาว่า    ทำโดยพลการ ทึกทัก ลองเชื่อ เข้าใจเอาเอง
  • กะเช้า    กะกลางวัน
  • กะเร่อกะร่า    ว. อาการที่แต่งกายรุ่มร่ามเกินพอดี เช่น เขาแต่งตัวกะเร่อกะร่าผิดกาลเทศะ, ซุ่มซ่าม เช่น เขาเดินกะเร่อกะร่าออกไปกลางถนนเลยถูกรถชน, เซ่อซ่า เช่น เขากะเร่อกะร่าเข้าไปอยู่กับพวกเล่นการพนันเลยถูกจับไปด้วย
  • กะเล่อกะล่า    ว. อาการที่แต่งกายรุ่มร่ามเกินพอดี เช่น เขาแต่งตัวกะเล่อกะล่าผิดกาลเทศะ, ซุ่มซ่าม เช่น เขาเดินกะเล่อกะล่าออกไปกลางถนนเลยถูกรถชน, เซ่อซ่า เช่น เขากะเล่อกะล่าเข้าไปอยู่กับพวกเล่นการพนันเลยถูกจับไปด้วย
  • เอาใส่กระเป๋า    ใส่ถุง
ประโยค
  • ดูเหมือนเธอทำแบบไม่ต้องคิดเลย แค่กะเอาว่าต้องใส่อะไรเท่าไหร่
  • กะเอาว่ามันขนาดเท่าฝ่ามือ