กัณฐัศว์ คือ
กันถัด
น. ชื่อม้าตระกูลหนึ่ง, ในบทกลอนใช้เรียกม้าทั่วไป.
- กัณฐ กันถะ- ( แบบ ) น. คอ. ( ป. ).
- กัณฐัศ กันถัด น. ชื่อม้าตระกูลหนึ่ง, ในบทกลอนใช้เรียกม้าทั่วไป.
- กัณฐ- กันถะ- (แบบ) น. คอ. (ป.).
- กัณฐี กันถี (แบบ) น. เครื่องประดับคอ เช่น แก้วกัณฐีถนิมมาศนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช).
- กัณฐกะ -ถะกะ น. เครื่องประดับคอ เช่น คางเพลาคือกลวิมลกัณ- ฐกก่องคือแสงสรวล. (สมุทรโฆษ). (ป., ส.).
- กัณฐชะ (ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากเพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดจากเส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. (ป.; ส. กณฺวฺย).
- กัณฐา กันถะ- (แบบ) น. คอ. (ป.).
- อัศวานึก อัดสะวานึก น. กองทัพม้า, เหล่าทหารม้า, เป็นส่วนหนึ่งแห่งกระบวนทัพโบราณ ซึ่งเรียกว่า จตุรงคพล จตุรงคโยธา จตุรงคเสนา หรือจตุรงคินีเสนา มี ๔ เหล่า ได้แก่ ๑. หัตถานึก (กองทัพช้าง, เหล่าทหารช้าง) ๒. อั
- กิริเนศวร -เนสวน, -เนด น. ช้างสำคัญ เช่น ทรงนั่งกิริเนศวรโจมทอง. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
- ทศกัณฐ์ น. “ผู้มีสิบคอ” คือ ท้าวราพณ์ในเรื่องรามเกียรติ์.
- สัณฐาน น. รูปทรง, ลักษณะ, เช่น ป้อมปราการมีสัณฐานแปดเหลี่ยม โลกมีสัณฐานกลมอย่างผลส้ม. (ป.; ส. สํสฺถาน).
- สัณฐิติ น. ความตั้งมั่น. (ป.; ส. สํสฺถิติ).
- อสัณฐาน ซึ่งไม่มีรูปร่างที่แน่นอน ไร้จุดหมายหรือจุดประสงค์ที่แน่นอน
- เนรกัณฐี เนระกันถี น. แก้วมณีชนิดหนึ่ง.
- ไวกูณฐ์ น. ที่ประทับพระนารายณ์ เช่น ผู้สิง ณ ไวกูณฐ์. (มัทนะ). (ส.); (โบ) พระนารายณ์ที่แบ่งภาคลงมา เช่น ซึ่งจะให้นารายณ์ลงไป ก็ต้องในไวกูณฐ์อวตาร. (รามเกียรติ์ ร. ๑).