คละกัน คือ
"คละกัน" การใช้"คละกัน" อังกฤษ"คละกัน" จีน
- จิปาถะ
ต่าง ๆ นานา
ประกอบด้วยชนิดต่าง ๆ
ประกอบด้วยชนิดที่คัดเลือกแล้ว
หลากหลาย pron
เบ็ดเตล็ด
แบ่งประเภทเป็นหมู่
หลากหลาย
ที่ปนเปกัน
ที่ผสมกัน
- คล คน ( แบบ ) น. คอ เช่น เหลือกตาเมียงเอียงคล. ( ม. คำหลวง กุมาร). ( ป. , ส. ).
- คละ คฺละ ว. ลักษณะที่ปนกัน ทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ทั้งดีและไม่ดี เช่น ผลไม้ผลเล็กผลใหญ่ปนกัน เรียกว่า คละกัน.
- ละ ๑ ก. อาการที่แยกตัวให้พ้นจากสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องอยู่ เช่น ละถิ่น ละบ้าน ละสมณเพศ; ทิ้งไว้, ปล่อยไว้, เช่น ละไว้ในฐานที่เข้าใจ ละพยศ;
- กัน ๑ ( ปาก ) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้เสมอกันหรือผู้น้อยในทำนองกันเอง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. ๒ ว.
- คละกันไป หลากหลาย ต่างๆ นานา หลายรูปแบบ แตกต่างกัน
- คละเคล้ากัน ปะปน ปะปนกัน เบ็ดเตล็ด ต่างๆ นานา ผสมปนเปกัน
- อย่างคละกันไป อย่างแตกต่างกัน
- กันและกัน ส. คำใช้แทนชื่อในลักษณะที่มีการกระทำร่วมกันหรือต่อกันโดยมีบุรพบทประกอบหน้า เช่น รักซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์ของกันและกัน.
- ซึ่งกันและกัน กัน กันและกัน ต่อกัน แก่กันและกัน ต่างตอบแทนกัน ซึ่งแลกเปลี่ยนประโยชน์กัน ทั้งสองฝ่าย ร่วมกัน
- นิสัยตะกละ ความตะกละ
- แก่กันและกัน ซึ่งกันและกัน
- ก๊าซไร้สีและกลิ่น ก๊าซไฮโดรเจน
- จะกละ ๑ ว. ตะกละ, ตะกลาม, มักกิน, กินไม่เลือก, เห็นแก่กิน, มักใช้รวมกันว่า จะกละจะกลาม ก็มี, ตะกละตะกลาม ก็ว่า, โดยปริยายหมายความว่าอยากได้มาก ๆ. ๒ น. ชื่อผีชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีรูปเป็นแมว อยู่ในจำพวกผี
- ตะกละ -กฺละ, -กฺลาม ว. มักกิน, กินไม่เลือก, เห็นแก่กิน, มักใช้รวมกันว่า ตะกละตะกลาม ก็มี, จะกละจะกลาม ก็ว่า, โดยปริยายหมายความว่า อยากได้มาก ๆ.
- ละกล (กลอน) ว. กล, เหมือน.
ประโยค
- ฉันเดาว่าเธอคงรู้ ฉันจะไม่พูดถึงชื่อโรคละกัน
- หน่วยความจำสองประเภทนี้สามารถคละกันได้หรือไม่
- สิ่งดีและสิ่งร้ายๆเป็นสิ่งที่ต้องคละกันไป
- งั้นคุณไปเขียนเช็คละกัน ฉันยังถังแตกจนกว่าจะได้พินัยกรรม
- คิดซะว่าวันนี้ไม่มีโชคละกัน แต่คราวหน้าอาจจะดี นะ คราวหน้า
- ดูเหมือนว่าการ์ดจะถูก คละกันโดยสมบูรณ์
- เรียกเขาว่า นักข่าวเบคละกัน
- โอเค เราจะถ่ายอีกเทคละกัน
- งั้นไว้จะโทรไปเช็คละกัน
- ถือว่าเป็นโชคละกัน
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2