จระขาบ คือ
สัทอักษรสากล: [ja ra khāp] การออกเสียง:
"จระขาบ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
จะระ-
(กลอน) น. ตะขาบ, ใช้ว่า จะขาบ ก็มี.
- จร ๑ จอน, จอระ-, จะระ- ว. ไม่ใช่ประจำ เช่น คนจร รถจร, แทรกแปลกเข้ามา เช่น โรคจร ลมจร. ก. ไป, เที่ยวไป; ประพฤติ. ( ป. , ส. ),
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ขา ๑ น. อวัยวะตั้งแต่ตะโพกถึงข้อเท้า สำหรับยันกายและเดินเป็นต้น (ไทยถิ่นอื่น ขา หมายความตั้งแต่ตะโพกถึงเข่า);
- ขาบ ๑ ว. สีน้ำเงินแก่อมม่วง. ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) ก. แอบ, ซ่อน.
- จะขาบ ๑ ดู ตะขาบ ๑. ๒ ดู ตะขาบ ๓.
- ตะขาบ ๑ น. ชื่อสัตว์ที่มีลำตัวและขาเป็นปล้อง มีหลายวงศ์ หัวและลำตัวยาวแบนหรือค่อนข้างแบน มีจำนวนปล้อง ๑๕-๒๓ ปล้อง แต่ละปล้องมีขา ๑ คู่ไปจนถึงปล้องสุดท้ายหรือเกือบสุดท้าย ขามี ๕-๗ ปล้อง ทอดออกไป ด้านข้างขอ
- ไม้ตะขาบ จะขาบ ตะขาบ
- ตีนตะขาบ น. เรียกรถชนิดหนึ่งซึ่งขับเคลื่อนด้วยสายพาน สามารถขับเคลื่อนไปในภูมิประเทศที่เป็นทุ่งนาป่าเขาได้ดีกว่ารถที่ใช้ล้อธรรมดา. น. ชื่อเฟินชนิด Nephrolepis biserrata (Sw.) Schott ในวงศ์ Nephrolepidaceae.
- ธงตะขาบ pic050.jpg (ธงตะขาบ) น. ธงชนิดหนึ่งทำด้วยแผ่นผ้าเป็นชิ้น ๆ เย็บติดกันไปเป็นพืด มีไม้สอดระหว่างชิ้นทำให้มีลักษณะคล้ายตัวตะขาบ ขนาดกว้างยาวตามต้องการ มักแขวนไว้ยอดเสาหงส์ตามหน้าวัดเป็นพุทธบูชา.
- นกตะขาบ ตะขาบ
- ปากจะขาบ ดู ปากตะขาบ.
- ปากตะขาบ น. รูปเป็นง่ามอย่างเขี้ยวตะขาบ; ชื่อกบไสไม้มีคมเป็นง่ามสำหรับไสไม้ให้เป็นลวดลาย, ปากจะขาบ ก็เรียก.
- รถตีนตะขาบ น. รถชนิดหนึ่งซึ่งมีสายพานหุ้มล้อ สามารถขับเคลื่อนไปในภูมิประเทศที่เป็นทุ่งนาป่าเขาได้ดีกว่ารถที่ใช้ล้อธรรมดา.
- เขี้ยวตะขาบ น. เหล็กที่ทำเป็นหมุดแหลมโค้งอย่างเขี้ยวของตะขาบสำหรับตอกเพลาะกระดานยึดให้แน่นสนิท, ตะปลิง ตัวปลิง หรือ ปลิง ก็เรียก; ชายผ้าสังฆาฏิของพระพุทธรูปในสมัยเชียงแสนและสุโขทัย มีลักษณะปลายผ้าย้อยต่ำแหลมลงม
- เลื่อยตะขาบ น. เครื่องมือสำหรับตัดหรือซอยไม้ ใบเลื่อยมีลักษณะเป็นแผ่นแบนยาว ท้องเลื่อยหย่อนโค้ง ปลายใบเลื่อยทั้ง ๒ ข้างทำเป็นบ้อง สำหรับสอดไม้ท่อนกลม ๆ เพื่อใช้จับชักใบเลื่อย ใช้คนชักเลื่อยคู่กัน ๒ คน, เลื่อยยม