จระลุง คือ
สัทอักษรสากล: [ja ra lung] การออกเสียง:
"จระลุง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
จะระ-
(กลอน) น. เสาตะลุง, โบราณเขียนเป็น จรลุง หรือ จลุง ก็มี เช่น แท่นที่สถิตย์ จรลุงโสภิต พื้นฉลักฉลุทอง. (ดุษฎีสังเวย ), จลุงอาศน์เบญพาศเกลี้ยงเกลา พเนกพนักน่าเนา จะนอนก็ศุขสบไถง. (ดุษฎีสังเวย ).
- จร ๑ จอน, จอระ-, จะระ- ว. ไม่ใช่ประจำ เช่น คนจร รถจร, แทรกแปลกเข้ามา เช่น โรคจร ลมจร. ก. ไป, เที่ยวไป; ประพฤติ. ( ป. , ส. ),
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ระลุง ก. ใจห่วงถึง, เป็นทุกข์ถึง, ระลวง ก็ใช้.
- ลุ ก. ถึง (ในลักษณะที่ต้องใช้ความพยายาม) เช่น ลุความสำเร็จ, ถึง เช่น ลุศักราช, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ ถึง เป็น ลุถึง; ( โบ ) รู้ความ เช่น ลุท้องตรา
- ลุง ๑ น. พี่ชายของพ่อหรือแม่ หรือชายที่มีวัยไล่เลี่ยแต่แก่กว่าพ่อหรือแม่, คำเรียกชายที่ไม่รู้จักแต่มักจะมีอายุแก่กว่าพ่อหรือแม่. ๒ ดู กร่าง .
- จระลิ่ง จะระ- (กลอน) ก. ตะลึง เช่น จระลิ่งทางทิพห้อง แห่งองค์. (ทวาทศมาส).
- จระลึง จะระ- (กลอน) ก. ตะลึง เช่น จระลิ่งทางทิพห้อง แห่งองค์. (ทวาทศมาส).
- กระลิง (กลอน) ก. จับ, ถือ, โดยมากใช้เป็น กระลึง.
- กระลึง (โบ) ก. จับ, ถือ, เช่น ชดกรกระลึงกุมแสง. (ลอ).
- ชระลั่ง ชฺระ- (กลอน) ก. ทะลึ่งทะลั่ง เช่น จงสองเจ้าอย่าได้ทะลิ่นชระลั่งคอยนั่งเฝ้าพระบาท. (ม. คำหลวง กุมาร).
- ประลึง (กลอน) ก. จับต้อง, ลูบคลำ.
- ประลุง (กลอน) ก. ปลาบปลื้ม, ยินดี.
- ระลึกถึง v. นึกถึงด้วยใจผูกพัน , ชื่อพ้อง: คนึงถึง, คิดถึง, รำลึกถึง ตัวอย่างการใช้: เพลง เดือนเพ็ญ ทำให้เขาระลึกถึงครั้งหนึ่งที่เข้าไปใช้ชีวิตอยู่ในป่าร่วมกับพี่น้องที่ร่วมอุดมการณ์เดียวกัน
- ทะลิ่นชระลั่ง -ชฺระ- (กลอน) ก. ทะลึ่งทะลั่ง.
- การระลึกถึง ความทรงจํา การคิดถึง การนึกถึง การระลึก การจําได้ การฉลอง การจดจํา