ชนกกรรม คือ
"ชนกกรรม" อังกฤษ
ชะนะกะกำ
น. กรรมอันนำให้เกิดหรือกรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีหรือข้างชั่ว เช่น กรรมอันทำให้เกิดเป็นคนชั้นสูง เป็นชนกกรรมฝ่ายกุศล. (อรรถศาสน์).
- ชน ๑ ก. โดนแรง ๆ เช่น รถยนต์ชนต้นไม้, ชิดจนติด เช่น ตั้งตู้ชนฝา; บรรจบ เช่น ชนขวบ; ให้ต่อสู้กัน เช่น ชนโค ชนไก่. น.
- ชนก ชะนก, ชะนะกะ- น. ชายผู้ให้เกิด, พ่อ. ( ป. , ส. ).
- นก ๑ น. ชื่อสัตว์มีกระดูกสันหลังเลือดอุ่น มี ๒ เท้า ๒ ปีก และมีขนปกคลุมร่างกาย ออกลูกเป็นไข่ก่อนแล้วจึงฟักเป็นตัว. ๒ น.
- กก ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก. ๒ น. โคน เช่น กกไม้, ต้น เช่น กกขา, ลำต้น เช่น กกเสา. ๓ น.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรม ๑ กำ, กำมะ- น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒)
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- ชนชั้นกรรมกร ชนชั้นกรรมาชีพ
- ชนกรรมาชีพ กรรมาชีพ
- ชนชั้นกรรมาชีพ n. ชนชั้นหรือกลุ่มบุคคลที่ทำงานโดยการรับค่าจ้าง หรือเงินเดือนเป็นการตอบแทน โดยเฉพาะหมายถึงกลุ่มบุคคลที่ใช้แรงกายเป็นหลัก ชื่อพ้อง: ชนชั้นกลาง, ชนชั้นใช้แรงงาน คำตรงข้าม: ชนชั้นสูง ตัวอย่
- สิ้นกรรม ก. สิ้นสุดในการที่ต้องรับทุกข์อีกต่อไป เช่น เมื่อเขามีชีวิตอยู่ มีภาระมากหรือเจ็บป่วยทรมาน ตายไปก็ถือว่าสิ้นเวรสิ้นกรรม, หมดกรรม หมดกรรมหมดเวร หมดเวร หรือ หมดเวรหมดกรรม ก็ว่า; (ปาก) ตาย.
- พฤติกรรมของชนกลุ่มน้อย พฤติกรรมทางวัฒนธรรม
- ตึกกิจกรรม ตึกกิจกรรมนักศึกษา
- นักกิจกรรม นักทํากิจกรรม