ชปโยค คือ
ชะปะโยก
(แบบ) น. มนตร์กระซิบ เช่น สมมุขบ่ายบูชา ชปโยค. (เฉลิมพระเกียรติพระนารายณ์). (ส. ชปฺ + โยค).
- ปโย น. น้ำนม, น้ำ. ( ป. , ส. ปย), ที่เป็น ปโย เพราะเข้าสมาสกับศัพท์ที่มีพยัญชนะตัวหน้าเป็นอักษรต่ำหรือตัว ห ดังตัวอย่างต่อไปนี้
- โย ๑ ( ปาก ) ก. พูดแขวะ, พูดชวนวิวาท. ๒ ( โบ ) ว. เรียกทุเรียนที่มีเม็ดห่าง ๆ ว่า ทุเรียนโย. ( ปรัดเล ).
- โยค โยคะ- น. การประกอบ, การใช้, การร่วม; กิเลส; ความเพียร; วิธีบำเพ็ญสมาธิตามลัทธิของอาจารย์ปตัญชลี; ( โหร ) การที่ดาวนพเคราะห์ตั้งแต่ ๒
- วิปโยค วิบปะโยก, วิปฺระโยก น. ความพลัดพราก, ความกระจัดกระจาย, ความจากกัน. ว. เศร้าโศก เช่น วันวิปโยค แม่น้ำวิปโยค. (ป. วิปฺปโยค; ส. วิปฺรโยค).
- อุปโยค อุปะโยก, อุบปะโยก น. การใช้สอย, การทำให้เกิดประโยชน์. (ป., ส.).
- สัมปโยค สำปะโยก น. การประกอบกัน. (ป.; ส. สมฺปฺรโยค).
- อุปโยคบุรพบท อุปะโยคะบุบพะบด, -บุระพะบด น. ในไวยากรณ์หมายถึงคำนำหน้ากรรมการก.
- ปโย- น. น้ำนม, น้ำ. (ป., ส. ปย), ที่เป็น ปโย เพราะเข้าสมาสกับศัพท์ที่มีพยัญชนะตัวหน้าเป็นอักษรต่ำหรือตัว ห ดังตัวอย่างต่อไปนี้
- ราโชปโภค ราชูปะโพก, ราโชปะโพก น. เครื่องใช้สอยของพระราชา. (ป.).
- ปโยธร น. “ผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ” คือ เมฆ, “ผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำนม” คือ ถัน. (ป., ส.).
- ปโยนิธิ น. “ที่รับน้ำ” คือ ทะเล. (ส.).
- โยค- โยคะ- น. การประกอบ, การใช้, การร่วม; กิเลส; ความเพียร; วิธีบำเพ็ญสมาธิตามลัทธิของอาจารย์ปตัญชลี; (โหร) การที่ดาวนพเคราะห์ตั้งแต่ ๒ ดวงขึ้นไปมารวมกันในราศีเดียว. (ป., ส.).
- โยคี น. นักบวชผู้ปฏิบัติตามลัทธิโยคะ, ฤษีพวกหนึ่ง. (ป.; ส. โยคินฺ ว่า ผู้ปฏิบัติตามลัทธิโยคะ).
- ปโยชนม์ ปะโยชน น. “ผู้มีน้ำเป็นที่เกิด” คือ เมฆ. (ส. ปโยชนฺมนฺ).
- ปโยธรา น. “ที่ทรงน้ำนมไว้” คือ ทรวงอกหรือนมหญิง. (ส.).