ชมพู่แก้มแหม่ม คือ
สัทอักษรสากล: [chom phū kaēm maem] การออกเสียง:
"ชมพู่แก้มแหม่ม" อังกฤษ"ชมพู่แก้มแหม่ม" จีน
ความหมายมือถือ
- eugenia javanica
syzygium javanicum
- ชม ๑ ก. สรรเสริญ, ยกย่อง; ดู (ใช้ในที่สุภาพ) เช่น เชิญชมของในร้าน, ดูเพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจหรือชื่นใจ เช่น ชมสวน ชมนกชมไม้. ๒ น.
- ชมพู ๑ ( แบบ ) น. ไม้หว้า. ( ป. , ส. ชมฺพุ). ๒ ว. สีแดงอ่อน, สีแดงเจือขาว.
- ชมพู่ น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางหลายชนิดในสกุล Syzygium วงศ์ Myrtaceae ผลกินได้ เช่น ชมพู่แก้มแหม่ม [ S. samarangense (Blume) Merr. et L.M. Perry]
- พู ๑ น. เรียกสิ่งที่มีลักษณะนูนออกมา เช่น พูทุเรียน. ๒ น. ถั่วพู. ( ดู ถั่วพู ).
- พู่ น. กลุ่มหรือกระจุกที่ประกอบด้วยขนสัตว์ ไหม ด้าย หรือสิ่งอื่น ๆ ที่คล้ายกัน โดยมากใช้ห้อย เช่น พู่เรือสุพรรณหงส์ พู่ม่าน, ที่ใช้ชูก็มีบ้าง เช่น
- แก ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus splendens ในวงศ์ Corvidae รูปร่างคล้ายกา แต่ตัวและปากเล็กกว่า ด้านหลังท้ายทอยสีเทา, อีแก ก็เรียก. ๒ ส.
- แก้ ๑ น. ชื่อเบี้ยตัวโต ๆ สำหรับขัดผ้านุ่งให้ผิวเป็นมัน เช่น ผ้าลาย เรียกว่า เบี้ยอีแก้ หรือ เบี้ยแก้ใหญ่. ( ดู เบี้ยแก้ ประกอบ ). ๒ ก.
- แก้ม น. บริเวณหน้าทั้ง ๒ ข้างถัดตาลงมา, ราชาศัพท์ว่า พระปราง, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีรูปเช่นนั้น เช่น เฉือนมะม่วงเอาแต่ ๒ แก้ม = เฉือนเอา ๒
- แก้มแหม่ม น. ชื่อชมพู่พันธุ์หนึ่งของชนิด Eugenia javanica Lam. ผลกลมแป้น สีชมพูเรื่อ ๆ.
- ก้ม ก. ทำให้ต่ำลงโดยอาการน้อม (ใช้เฉพาะ หัว หน้า และหลัง) เช่น ก้มหัว ก้มหน้า ก้มหลัง.
- แห ๑ น. ชื่อเครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นตาข่าย ใช้ทอดแผ่ลงในน้ำแล้วค่อย ๆ ดึงขึ้นมา. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้, อีสาน ) ว. เปรียว, ไม่เชื่อง. ๓ (
- แหม ๑ แหฺม น. ปลอกรัดสิ่งของบางอย่าง เช่นลำกล้องปืนยาวแบบโบราณให้ติดกับราง ด้ามมีด ด้ามสิ่ว ไม้กวาดทางมะพร้าว. ๒ แหฺม ว.
- แหม่ แหฺม่ ว. เสียงขู่เด็กเล็ก ๆ ให้กลัว.
- แหม่ม แหฺม่ม น. คำเรียกหญิงฝรั่ง.
- มีสีชมพู มีสีกุหลาบ มีสีแดงอมชมพู