ตะลุ่ม คือ
สัทอักษรสากล: [ta lum] การออกเสียง:
"ตะลุ่ม" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- น. ภาชนะมีเชิงคล้ายพาน แต่ปากคลุ่ม สำหรับใส่ของ.
- ตะ ก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
- ลุ ก. ถึง (ในลักษณะที่ต้องใช้ความพยายาม) เช่น ลุความสำเร็จ, ถึง เช่น ลุศักราช, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ ถึง เป็น ลุถึง; ( โบ ) รู้ความ เช่น ลุท้องตรา
- ลุ่ม ว. ต่ำ (ใช้แก่ลักษณะพื้นดินซึ่งรับน้ำที่ไหลท่วมได้หรือน้ำขึ้นถึง) เช่น ที่ลุ่ม ที่ราบลุ่ม, ตรงข้ามกับ ดอน.
- ตะลีตะลาน ๑ ว. รีบร้อนลนลาน, ลุกลน. ๒ ดู ตะลาน ๒.
- ตะลอง น. อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๔ กระชุก, และ ๔ ตะลอง เป็น ๑ เกวียน.
- ตะลอน (ปาก) ก. เที่ยวไปเรื่อย ๆ.
- ตะละ (กลอน) ว. ดุจ, เหมือน, เช่น ลำต้นตะละคันฉัตร; แต่ละ เช่น ตะละคน.
- ตะลาน ๑ น. ชื่องูชนิด Ptyas korros ในวงศ์ Colubridae ตัวยาวประมาณ ๑ เมตร ตาโต เลื้อยเร็ว ออกหากินเวลากลางวัน ส่วนมากจะหากินตามพื้นดิน ไม่มีพิษ, สิง ตาโต หรือ ตาลาน ก็เรียก. ๒ น. ชื่อมดหลายชนิดในวงศ์ Formi
- ตะลิบ ว. ลิบ, ไกล, เช่น ตะลิบหายไปไม่เห็นตัว. (ม. กาพย์ กุมารบรรพ).
- ตะลึง ก. อาการที่ชะงักงันนิ่งอึ้งไปชั่วขณะหนึ่งเพราะคาดไม่ถึง.
- ตะลึงงัน v. อาการที่ชะงักงันนิ่งอึ้งไปชั่วขณะหนึ่งเพราะคาดไม่ถึง , , ชื่อพ้อง: ตกตะลึง ตัวอย่างการใช้: กลุ่มคนที่เข้าไปมุงดูต่างตะลึงงันอยู่กับภาพคนตายตรงหน้า
- ตะลุง ๑ น. ชื่อมหรสพอย่างหนึ่ง ใช้หนังสลักเป็นรูปภาพขนาดเล็ก คีบด้วยไม้ตับอันเดียว เชิดภายในโรงให้แสงไฟส่องผ่านตัวหนังสร้างเงาให้ปรากฏบนจอผ้าขาวหน้าโรง ใช้ปี่ กลอง และฆ้องคู่บรรเลงประกอบ ผู้เชิดเป็นผู้พาก
- ตะลุมพอ ดู หลุมพอ.
- ตะลุมพุก ๑ น. ไม้ท่อนกลม ๆ มีด้ามคล้ายค้อน แต่ใหญ่กว่ามาก สำหรับตำข้าว; ไม้ท่อนขนาดเล็กที่มีด้ามสั้น ตัวสั้น สำหรับทุบผ้าให้เรียบ, กระลุมพุก ก็ใช้. ๒ น. ชื่อปลาทะเลชนิด Tenualosa toli ในวงศ์ Clupeidae ที่ว่า
- ตะลุย ว. อาการที่ตีหรือบุกดะเข้าไปไม่รั้งรอ, อาการที่อ่านเรื่อยไปโดยไม่พินิจพิจารณา.