เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ติฉินนินทา คือ

สัทอักษรสากล: [ti chin nin thā]  การออกเสียง:
"ติฉินนินทา" การใช้"ติฉินนินทา" อังกฤษ"ติฉินนินทา" จีน
ความหมายมือถือ
  • v.
    ว่ากล่าวผู้อื่นลับหลัง
    ,
    ,
    ,
    ชื่อพ้อง: นินทา
    ตัวอย่างการใช้: ชาวบ้านพากันติฉินนินทาหล่อน ที่ชอบคบหากับผู้ชายหลายคน
  • ติ     ก. ชี้ข้อบกพร่อง.
  • ฉิน     ๑ ก. ติ, ติเตียน, เช่น สามสิ่งนี้โหดให้ โทษแท้คนฉิน. ( โลกนิติ ), มักใช้เข้าคู่กับคำ ติ เป็น ติฉิน. ๒ ( กลอน ) ว. ฉัน, เช่น, คล้าย,
  • นิ     ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
  • นินทา     น. คำติเตียนลับหลัง. ก. ติเตียนลับหลัง. ( ป. , ส. นินฺทา ว่า การติเตียน).
  • นท     นด ( แบบ ) น. ผู้บันลือ, ผู้ร้อง, ผู้ลั่น; แม่น้ำ, ลำน้ำ, เช่น ชมพูนท (แปลว่า เกิดในแม่น้ำชมพูนที คือ ทองคำบริสุทธิ์). ( ป. , ส. ).
  • ทา     ก. คำรวมหมายถึงกิริยาอาการที่เอาของเปียกหรือของเหลวเป็นต้น ฉาบ ลูบ ไล้ ป้าย หรือบ้าย เช่น ทาสี ทาแป้ง ทาปาก ทายา, ถ้าทาเกลือกหรือเคลือบแต่ผิว ๆ
  • ฉันทานุมัติ    ฉันทานุมัด น. ความเห็นชอบตามโดยความพอใจ, การได้รับมอบหมายด้วยความเต็มใจ. (ป. ฉนฺท + อนุมติ).
  • ฉันทา    (กลอน) ก. ลำเอียงเพราะรักใคร่ชอบใจ เช่น พระแก่วันชันษากว่าข้านี้ นึกว่าพี่น้องกันไม่ฉันทา. (อภัย).
  • ฉันทาคติ    น. ความลำเอียงเพราะความรักใคร่ชอบใจ เป็นอคติ ๑ ในอคติ ๔ ได้แก่ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. (ป. ฉนฺท + อคติ).
  • ฉันทามติ    ความเห็นชอบ ความเห็นพ้อง
  • ต้นทุนน้ํา    การอิ่มตัวด้วยน้ํา ความต้องการคายระเหยน้ํา ความสมดุลของน้ํา
  • ฉันท-    ๑ ฉันทะ- น. ชื่อคำประพันธ์ประเภทหนึ่งที่วางคำ ครุ ลหุ เป็นแบบต่าง ๆ. (ป.). ๒ น. ความพอใจ, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี; ความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช
  • ฉันท์    ๑ ฉันทะ- น. ชื่อคำประพันธ์ประเภทหนึ่งที่วางคำ ครุ ลหุ เป็นแบบต่าง ๆ. (ป.). ๒ น. ความพอใจ, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี; ความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช
  • ฉินท    ฉินทะ- (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทำลาย. (ป., ส.).
  • ฉินท-    ฉินทะ- (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทำลาย. (ป., ส.).
ประโยค
  • ฉันถูกติฉินนินทา เรื่องการหาเงินมาตลอดชีวิต
  • ฉันควรออกจากบริษัทเพื่อหยุดการติฉินนินทา
  • แล้วเจ้าจะทนคำติฉินนินทาได้อีกนานเท่าไร
  • การกีดกันข้่ากับลูกจะทำให้มีเรื่องติฉินนินทาต่อองค์ราชินีได้
  • เพื่อจะได้หลีกเลี่ยงคำติฉินนินทา ว่าอยากครอบครองพระราชบัลลังก์นะ ใต้เท้า