ทิฏฐุชุกรรม คือ
"ทิฏฐุชุกรรม" อังกฤษ
- (แบบ) น. การทำความเห็นให้ตรง คือ เห็นถูกทาง เช่น เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (เป็นข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุกรรม). (ป. ทิฏฺฐุชุกมฺม).
- ชุ ( กลอน ) น. ต้นไม้ เช่น กินลูกชุลุเพรางาย. ( ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). ( ต. ชุ ว่า ต้นไม้).
- ชุก ว. มีดื่น, มีมากมาย, เช่น มะม่วงชุก, มีบ่อย ๆ เช่น ฝนชุก.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรม ๑ กำ, กำมะ- น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒)
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- โผฏฐัพธรรม น. สิ่งที่รู้สึกได้ด้วยกาย, สิ่งที่สัมผัสได้ด้วยกาย.
- ทัฬหีกรรม ทันฮีกำ น. การกระทำให้มั่นคงขึ้น ได้แก่การที่ทำซ้ำลงไปเพื่อให้มั่นคงในกรณีที่การกระทำครั้งแรกไม่สมบูรณ์ มักใช้ในพิธีสงฆ์ เช่น ทำทัฬหีกรรม สวดทัฬหีกรรม. (ป. ทฬฺหีกมฺม; ส. ทฺฤฒี + กรฺมนฺ).
- ทุรกรรม n. ความล้มเหลวของบุคคลในการปฏิบัติหน้าที่ทางสังคมที่กำหนดไว้ หรือการละเมิดข้อผูกพันทางสังคม
- ทํากรรม ทํากรรมทําเวร ทําเวรทํากรรม ก่อกรรม สร้างกรรม ทําบาป ทําบาปทํากรรม
- ทัณฑกรรม ทันดะ- น. การลงโทษ, โทษที่ลงแก่สามเณรที่ประพฤติผิด; (กฎ) ทัณฑ์สถานหนึ่งตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหารและกฎหมายว่าด้วยวินัยตำรวจ คือ ให้ทำงานโยธา งานสุขาภิบาล หรืองานอื่นของราชการ เพิ่มจากหน้าที่ประจำซึ่ง
- ทันตกรรม งานของหมอฟัน ทันตแพทยศาสตร์
- ทํากสิกรรม ทํานา เพาะปลูก เก็บเกี่ยวพืชผล
- ทํากิจกรรม ง่วนอยู่กับ
- ชิงช้ากายกรรม ชิงช้า ชิงช้าสูง