ทิฐ- คือ
ทิดถะ-
(แบบ) ว. อันบุคคลเห็นแล้ว, ทันตาเห็น. (ป. ทิฏฺ; ส. ทฺฤษฺฏ).
- ทิฐ ทิดถะ- ( แบบ ) ว. อันบุคคลเห็นแล้ว, ทันตาเห็น. ( ป. ทิฏฺ; ส. ทฺฤษฺฏ).
- ทิฐิ ทิดถิ น. ความเห็น เช่น สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ มิจฉาทิฐิ ความเห็นผิด; ความอวดดื้อถือดี เช่น เขามีทิฐิมาก. (ป. ทิฏฺิ; ส. ทฺฤษฺฏิ).
- ที่ใส่อัฐิ ที่ใส่กระดูก ผอบ โกศ
- มีทิฐิ มานะ ดื้อรั้น หัวดื้อ
- ทําด้วยอิฐ ทําด้วยดินเผา
- ที่ดินของรัฐ (กฎ) น. บรรดาที่ดินทั้งหลายอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินหรือสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อนุมัติให้บุคคลเข้
- คนที่มีทิฐิมานะ คนหัวดื้อ คนหัวรั้น
- ความมีทิฐิมานะ การถือแต่หลักโดยไม่ดูความจริง ความหยิ่งยโส ความหัวดื้อ ลักษณะของคัมภีร์ ลัทธิถือหลักเอง
- ทําให้เป็นของรัฐ ทําให้เป็นของชาติ อยู่ภายใต้การควบคุมของชาติ เข้าควบคุมกิจการโดยรัฐ
- กัฐ (แบบ) น. ไม้ฟืน; ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด). (ป., ส. กฏฺ; ส. กาษฺ).
- คหัฐ คะหัด (ปาก) น. คฤหัสถ์. (ป. คหฏฺ).
- ฉัฐ ฉัดถะ (แบบ) ว. ที่ ๖. (ป. ฉฏฺ).
- ฐิตะ ถิตะ (แบบ) ก. ยืนอยู่, ตั้งอยู่แล้ว. (ป.).
- ฐิติ ถิติ น. การตั้งอยู่, การยืนอยู่, การดำรงอยู่; การเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่; การหยุดอยู่; ความมั่นคง, ความอดทน; ตำแหน่ง, ที่อยู่; ข้อบังคับ, ข้อบัญญัติ; ความแน่นอน. (ป.).
- ดิฐ ๑ ก. ตั้งอยู่, คงอยู่, เหลืออยู่, พักอยู่, หยุดอยู่. (ป. ติฏฺ). ๒ (แบบ) น. ท่าน้ำ, เขียนเป็น ดิษฐ์ ก็มี. (ป. ติตฺถ; ส. ตีรฺถ).