เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

นฤ คือ

การออกเสียง:
"นฤ" การใช้
ความหมายมือถือ
  • นะรึ-
    ว. ไม่มี, ออก, มักใช้นำหน้าศัพท์อื่น เช่น นฤมล ว่า ไม่มีมลทิน, นฤโฆษ ว่า ดังออก. (คำนี้เขียนแผลงมาจาก นิ ในบาลี ซึ่งสันสกฤต เป็น นิสฺ).
  • นฤ-    ๑ นะรึ- น. คน (ใช้นำหน้าคำอื่น). (ส.). ๒ นะรึ- ว. ไม่มี, ออก, มักใช้นำหน้าศัพท์อื่น เช่น นฤมล ว่า ไม่มีมลทิน, นฤโฆษ ว่า ดังออก. (คำนี้เขียนแผลงมาจาก นิ ในบาลี ซึ่งสันสกฤต เป็น นิสฺ).
  • นฤป    กษัตริย์ พระราชา
  • นฤคหิต    นะรึคะหิด (โบ) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ ํ, นิคหิต หรือ หยาดน้ำค้าง ก็เรียก. (ส. นิคฺฤหีต; ป. นิคฺคหีต). (ดู นิคหิต).
  • นฤดม    ว. เลิศชายหรือแข็งแรงที่สุด. (ส.).
  • นฤตย    นะริดตะยะ-, นะริด น. การระบำ, การฟ้อนรำ, การเต้นรำ. (ส.).
  • นฤตย-    นะริดตะยะ-, นะริด น. การระบำ, การฟ้อนรำ, การเต้นรำ. (ส.).
  • นฤตย์    นะริดตะยะ-, นะริด น. การระบำ, การฟ้อนรำ, การเต้นรำ. (ส.).
  • นฤนาท    นะรึนาด (แบบ) น. ความกึกก้อง; การบันลือ.
  • นฤบดี    น. พระราชา. (ส.).
  • นฤบาล    น. พระราชา. (ส.).
  • นฤปนีติ    -ปะนีติ น. พระราโชบาย. (ส.).
  • นฤปะ    น. ผู้ปกครอง, พระราชา.
  • นฤปัตนี    -ปัดตะนี น. พระราชินี. (ส.).
  • นฤพาน    นะรึ- น. ความดับกิเลสและกองทุกข์. (โบ) ก. ตาย (ใช้แก่พระมหากษัตริย์) เช่น ครั้งนั้นสมเด็จพระรามาธิบดีเจ้าเสด็จนฤพาน. (พงศ. กรุงเก่า). (ส. นิรฺวาณ; ป. นิพฺพาน).
  • นฤมล    นะรึมน ว. ไม่มีมลทิน. น. นาง.
ประโยค
  • ความทรงจำหนึ่งที่ผ่านฤดูร้อนมาหลายครั้งหลายครา
  • ดังนั้นฤดูยาวเหนื่อยและน่าทึ่งอย่างไม่น่าเชื่อ
  • อะไรคือจุดหลักสำหรับการแต่งหน้าในฤดูร้อนนี้ค่ะ
  • สถานการณ์นี้สำคัญสำหรับเมืองของเราในฤดูร้อนนี้
  • แมคเมอรี่ มีบ้านทุก ฤดู บ้านฤดูร้อนนี่เล็กที่สุด
  • ก็เหมือนกับต้นเชอร์รี่ต้นนี้ที่ออกดอกในฤดูหนาว
  • แล้วเขาก็บอกว่าบางทีพัสดุจะส่งมาถึงภายในฤดูนี้
  • หัวใจของเขาต้องละลายเหมือนน้ำแข็งในฤดูใบไม้ผลิ
  • ว่าไอศครีมน่ะไม่เหมาะที่จะกินในฤดูนี้จริงๆด้วย !
  • ถ้าการทำงานในฤดูหนาวเกิดผิดพลาด และผมเป็นอะไรไป
  • ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม:  1  2  3  4  5