นฤตยศาสตร์ คือ
- น. วิทยาหรือศิลปะแห่งการระบำ. (ส.).
- นฤ นะรึ- ว. ไม่มี, ออก, มักใช้นำหน้าศัพท์อื่น เช่น นฤมล ว่า ไม่มีมลทิน, นฤโฆษ ว่า ดังออก. (คำนี้เขียนแผลงมาจาก นิ ในบาลี ซึ่งสันสกฤต เป็น นิสฺ).
- นฤตย นะริดตะยะ-, นะริด น. การระบำ, การฟ้อนรำ, การเต้นรำ. ( ส. ).
- ฤต รึด น. กฎ, วินัย, (เช่นในพระศาสนา); ธรรมเนียม, ความจริง, ความชอบธรรม. ( ส. ).
- ยศ ยด น. ความยกย่องนับถือเกียรติของตน, เกียรติคุณ, ฐานันดรที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีสูงต่ำตามลำดับกันไป;
- ศาสตร สาดตฺระ-, สาดสะตฺระ-, สาด น. ระบบวิชาความรู้, มักใช้ประกอบหลังคำอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มนุษยศาสตร์. ( ส. ).
- ศาสตร์ สาดตฺระ-, สาดสะตฺระ-, สาด น. ระบบวิชาความรู้, มักใช้ประกอบหลังคำอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มนุษยศาสตร์. ( ส. ).
- สต สะตะ- น. ร้อย (๑๐๐). ( ป. ; ส. ศต).
- ตร หล่อ
- นฤตยศาลา น. ห้องเต้นรำ. (ส.).
- สถิตยศาสตร์ สะถิดตะยะ- น. วิชากลศาสตร์แขนงหนึ่ง ซึ่งว่าด้วยแรงที่กระทำต่อเทหวัตถุซึ่งเป็นของแข็ง โดยที่เทหวัตถุนั้น ๆ หยุดนิ่งอยู่กับที่. (อ. statics).
- จริยศาสตร์ น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. (อ. ethics
- มนุษยศาสตร์ มะนุดสะยะ-, มะนุดสาด น. วิชาว่าด้วยคุณค่าทางจิตใจและงานของคน มีศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ศาสนา และปรัชญา. (ส. มนุษฺย + ศาสฺตฺร). (อ. humanities).
- ศัลยศาสตร์ สันละยะสาด น. วิชาว่าด้วยการรักษาโรคโดยวิธีผ่าตัด.
- ไสยศาสตร์ ไสยะเวด, ไสยะสาด น. ตำราทางไสย, วิชาทางไสย.
- นฤตย- นะริดตะยะ-, นะริด น. การระบำ, การฟ้อนรำ, การเต้นรำ. (ส.).