นิทาฆะ คือ
- (แบบ) น. ความร้อน, ความอบอ้าว; หน้าร้อน (ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน). (ป.).
- นิ ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
- ทา ก. คำรวมหมายถึงกิริยาอาการที่เอาของเปียกหรือของเหลวเป็นต้น ฉาบ ลูบ ไล้ ป้าย หรือบ้าย เช่น ทาสี ทาแป้ง ทาปาก ทายา, ถ้าทาเกลือกหรือเคลือบแต่ผิว ๆ
- มาฆะ -มะคะ, มะคา, มาคะ น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๐ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปโคมูตร วานร หรือ งอนไถ, ดาวโคมูตร ดาววานร ดาวงอนไถ หรือ ดาวงูผู้ ก็เรียก. (ป., ส.). ๑ -คะ- น. ชื่อเดือนที่ ๓ แห่งจันทรคติ ตกราวเดือนกุมภาพันธ์.
- รบราฆ่าฟัน v. ต่อสู้กันเพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามตาย , fight (with weapons) at close quarters ชื่อพ้อง: ต่อสู้ คำตรงข้าม: สมัครสมานสามัคคี, สามัคคี ตัวอย่างการใช้: เขาเสนอให้มีการเจรจาสันติภาพกันเสียที หล
- อาฆาตแค้น v. ผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น ชื่อพ้อง: อาฆาต, พยาบาท ตัวอย่างการใช้: เขาแสดงความมีใจกว้างขวาง โดยไม่ถือสา หรืออาฆาตแค้นฝ่ายตรงข้ามแต่อย่างใด เมื่อได้อยู่ในฐานะเจ้าพ่อผู้ยิ่งใหญ่
- อย่างอาฆาตแค้น อย่างประสงค์ร้าย อย่างผูกพยาบาท อย่างมุ่งร้าย
- ปฏิฆะ (แบบ) น. ความคับแค้น, ความกระทบกระทั่ง, ความขึ้งเคียด (โทสะ). (ป.).
- มฆะ -, มะคะ, มะคา น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๐ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปโคมูตร วานร หรืองอนไถ, ดาวโคมูตร ดาววานร ดาวงอนไถ หรือ ดาวงูผู้ ก็เรียก. (ป., ส.).
- อฆะ ๑ อะคะ น. ความชั่ว, บาป, ความทุกข์ร้อน. (ป., ส.). ๒ อะคะ น. อากาศ, ฟ้า. (ป.).
- มาฆ -คะ- น. ชื่อเดือนที่ ๓ แห่งจันทรคติ ตกราวเดือนกุมภาพันธ์. (ป., ส.).
- มาฆ- -คะ- น. ชื่อเดือนที่ ๓ แห่งจันทรคติ ตกราวเดือนกุมภาพันธ์. (ป., ส.).
- ความอาฆาตแค้น ความขุ่นเคืองใจ ความคับแค้นใจ ความเกลียดชัง ความเจ็บใจ ความแค้นใจ
- มโหฆะ น. ห้วงน้ำใหญ่, ทะเลใหญ่; น้ำมาก, น้ำท่วมมาก. (ส., ป. มหา + โอฆ).
- อัปฏิฆะ อับปะติคะ ว. ไม่ระคายใจ, ไม่เคืองใจ, ไม่แค้นเคือง. (ป. อปฺปฏิฆ).
- โมฆะ โมคะ- ว. เปล่า, ว่าง; ไม่มีประโยชน์, ไม่มีผล, เช่น สัญญาเป็นโมฆะ; (กฎ) เสียเปล่า ไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมาย. (ป., ส.).