เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

บาทบงกช คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • บาดทะบงกด, บาดบงกด
    น. บัวบาท, บัวรองเท้า, หมายความว่า เท้าพระพุทธเจ้าหรือพระเจ้าแผ่นดิน. (ป., ส. ปาทปงฺกช).
  • บา     น. ครู, อาจารย์; ชายหนุ่ม.
  • บาท     ๑ บาด, บาดทะ- น. ตีน, ราชาศัพท์ว่า พระบาท. ( ป. , ส. ปาท). ๒ น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท,
  • บาทบ     บา-ทบ ( แบบ ) น. ต้นไม้ เช่น บรรดาที่เป็นบาทบชักตรลบเอารสวารี. ( ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). ( ป. , ส. ปาทป).
  • ทบ     ๑ ก. พับเข้ามา เช่น ทบผ้า ทบเชือก, เพิ่มเข้า เช่น เอาเชือกมาทบเข้าอีกเส้นหนึ่ง, ลักษณนามเรียกสิ่งที่พับเข้ามาหรือเพิ่มเข้ามา เช่น ผ้าทบหนึ่ง ผ้า
  • บง     ๑ น. ชื่อไผ่ชนิด Bambusa tulda Roxb. ในวงศ์ Gramineae ไม่มีหนาม ปล้องสั้น เนื้อลำหนา ใช้จักตอก. ๒ ( กลอน ) ก. มองดู, แลดู, เช่น
  • บงก     ( แบบ ) น. เปือกตม, โคลน, โดยมากใช้ประกอบหน้าคำอื่น เช่น บงกช ว่า ของที่เกิดในเปือกตม คือ บัว. ( ป. , ส. ปงฺก).
  • บงกช     บงกด น. บัว. ( ป. , ส. ปงฺกช).
  • งก     ๑ ก. แสดงอาการอยากได้หรือไม่อยากเสียจนเกินควร. ว. มีอาการสั่นอย่างคนแก่หรืออย่างกลัวหรืออย่างหนาวมาก. ๒ น.
  • กช     กด, กดชะ- ( กลอน ; ตัดมาจาก บงกช) น. ดอกบัว เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ. ( สมุทรโฆษ ), โดยมากใช้เข้าคู่กับคำ กร เป็น กรกช เช่น
  • บทบงกช    บดทะ- (กลอน) น. บัวบาท, เท้า. (ส. ปทปงฺกช).
  • บาทบงสุ์    บาดทะ- น. ละอองเท้า. (ป. ปาทปํสุ).
  • บงกชกร    -กดชะกอน (กลอน) น. มือมีรูปอย่างดอกบัวตูม, กระพุ่มมือ, มือ เช่น กระพุ่มบงกชกร. (เพชรมงกุฎ).
  • บทบาท    บดบาด น. การทำท่าตามบท, การรำตามบท, โดยปริยายหมายความว่า การทำตามหน้าที่ที่กำหนดไว้ เช่น บทบาทของพ่อแม่ บทบาทของครู.
  • บาทบูรณ์    บาดทะบูน น. คำที่ทำบาทของบทกลอนให้เต็ม เช่น ในฉันท์ ๑๑ มีคำที่ได้ใจความ ๑๐ คำ แล้วอีกคำหนึ่งไม่ต้องมีความหมายอย่างไรก็ได้ เติมเข้ามาให้ครบ ๑๑ คำเติมนี้ เรียกว่า บาทบูรณ์. (ส.).
  • สัตตบงกช    สัดตะบงกด น. ชื่อบัวหลวงพันธุ์หนึ่ง. (ดู บัว).