เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ปฏิภาคนิมิต คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • น. “อารมณ์เทียบเคียง” คือ เมื่อพบเห็นสิ่งใดจนติดตาหลับตาเห็นแล้วอาจนึกทายส่วนหรือแบ่งส่วนแห่งสิ่งนั้นให้สมรูปสมสัณฐาน เรียกว่า ปฏิภาคนิมิต. (ป. ปฏิภาคนิมิตฺต; ส. ปฺริตภาค + นิมิตฺต).
  • ปฏิ     คำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ. ( ป. ; ส. ปฺรติ).
  • ปฏิภาค     ปะติพาก, ปะติพากคะ- น. ส่วนเปรียบ. ว. เทียบเคียง, เหมือน. ( ป. ปฏิภาค; ส. ปฺรติภาค).
  • ภา     น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
  • ภาค     พาก, พากคะ- น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ ภาคต้น
  • คน     ๑ น. มนุษย์. ๒ ก. กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทำสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ
  • นิ     ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
  • นิมิต     ๑ ก. นิรมิต, สร้าง, แปลง, ทำ. ( ป. นิมฺมิต; ส. นิรฺมิต). ๒ น. เครื่องหมาย, ลาง, เหตุ, เค้ามูล; ( แบบ ) อวัยวะสืบพันธุ์. ( ป. , ส.
  • มิ     ๑ ว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ. ๒ ก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).
  • มิต     -ตะ- ว. พอประมาณ, น้อย. ( ป. ).
  • ภาคปฏิบัติ    น. ภาคลงมือทดลองทำจริง ๆ, คู่กับ ภาคทฤษฎี.
  • ปฏิภาค-    ปะติพาก, ปะติพากคะ- น. ส่วนเปรียบ. ว. เทียบเคียง, เหมือน. (ป. ปฏิภาค; ส. ปฺรติภาค).
  • อัปฏิภาค    อับปะติพาก ว. ไม่มีเปรียบ, เทียบไม่ได้. (ป. อปฺปฏิภาค).
  • ปฏิยานุภาค    อนุภาคตรงข้าม
  • เป็นปฏิภาค    ปฏิภาค เทียบเคียง
  • มีปฏิภาณ    ฉลาด ไหวพริบดี