ประ- คือ
"ประ-" การใช้
- ๑
ปฺระ
ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร เช่น ประทม เป็น บรรทม.
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ประสีประสา น. วิสัย, เรื่องราว, ความเป็นไป, ความหมาย, (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ไม่รู้ประสีประสา.
- จุดประ จุด จุดทศนิยม แต้ม
- ประกบ ก. แนบชิดกัน, ทาบกัน, เช่น ขนมครก ๒ ฝาประกบกัน ไม้ไผ่ ๒ ซีกประกบกัน.
- ประกล น. ประการ. ว. ต่าง.
- ประกัน ก. รับรองว่าจะรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น, รับรองว่าจะมีหรือไม่มีเหตุการณ์นั้น ๆ. น. หลักทรัพย์ที่ให้ไว้เป็นเครื่องรับรอง.
- ประกับ ๑ ก. ประกอบเข้าทั้ง ๒ ข้างเพื่อให้แน่น. ๒ (โบ) น. วัตถุใช้แทนเงินปลีก ขนาดเท่าเหรียญมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑ นิ้ว ทำด้วยดินเผาตีตราต่าง ๆ.
- ประกำ ก. รัด, ตรึงให้แน่น, เช่น ประกำตรึงด้วยเพชรแน่นหนา. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
- ประกิด ก. ประกอบ, ประกับ, ประดับ.
- ประกิต (แบบ) ก. แจ้งความ, ประกาศ, แสดง. (ส.).
- ประคด น. เครื่องคาดเอวหรืออกของพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นสายถักเป็นแผ่นสำหรับคาดเอว เรียกว่า ประคดเอว, ถ้าเป็นผืนผ้าสำหรับคาดอก เรียกว่า ประคดอก, รัดประคด ก็เรียก; ผ้าสำหรับคาดเอวทับเครื่องแบบขุนนางสมัยโบราณ
- ประคบ ว. เรียกผ้าที่ห่อเครื่องยาผูกเป็นลูกกลม ๆ อังไฟแล้วนาบหรือคลึงบริเวณที่ปวดว่า ลูกประคบ. ก. นาบหรือกดคลึงด้วยลูกประคบ.
- ประคัลภ์ (แบบ) น. ความกล้า, ความสามารถ, ความคะนอง. ว. คล่องแคล่ว, ประเปรียว. (ส.).
ประโยค
- นี่ไงประเด็นของเรื่องล่ะ ประ-ประเด็นอะไร ?
- ฉันเป็นประธาน ฉันเป็นประ-ประธาน