ประสพ คือ
สัทอักษรสากล: [pra sop] การออกเสียง:
"ประสพ" การใช้"ประสพ" อังกฤษ"ประสพ" จีน
ความหมายมือถือ
ปฺระสบ
น. การเกิดผล. (ส. ปฺรสว; ป. ปสว).
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ประสีประสา น. วิสัย, เรื่องราว, ความเป็นไป, ความหมาย, (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ไม่รู้ประสีประสา.
- ประสก (ปาก) น. ชายผู้แสดงตนเป็นคนถือพระพุทธศาสนา, คำที่บรรพชิตเรียกคฤหัสถ์ผู้ชาย, คู่กับ สีกา. (ตัดมาจาก อุบาสก).
- ประสบ ก. พบ, พบปะ, พบเห็น.
- ประสม ก. รวมกันเข้า (เป็นคำใช้ได้ทั่ว ๆ ไป).
- ประสะ ก. ฟอกหรือชำระสิ่งต่าง ๆ เช่นเครื่องยาเพื่อให้สะอาดหรือให้รสอ่อนลง; ใช้เรียกยาที่เข้าเครื่องยาสิ่งหนึ่งเท่ากับเครื่องยาอื่น ๆ เช่น ประสะขิง ก็คือเข้าขิงเท่ากับยาอื่นเป็นต้น.
- ประสัก น. ไม้หมุดสำหรับตรึงกงเรือต่างตะปู, ลูกประสัก ก็เรียก.
- ประสัยห ปฺระไสหะ-, ปฺระไส (แบบ) ก. ข่มขี่, ข่มเหง. (ส. ปฺรสหฺย; ป. ปสยฺห).
- ประสัยห- ปฺระไสหะ-, ปฺระไส (แบบ) ก. ข่มขี่, ข่มเหง. (ส. ปฺรสหฺย; ป. ปสยฺห).
- ประสัยห์ ปฺระไสหะ-, ปฺระไส (แบบ) ก. ข่มขี่, ข่มเหง. (ส. ปฺรสหฺย; ป. ปสยฺห).
- ประสา น. วิสัยที่เป็นไป เช่น ตามประสาจน ตามประสาเด็ก ตามประสาใจ.
- ประสิทธิ ปฺระสิดทิ-, ปฺระสิด น. ความสำเร็จ. ก. ทำให้สำเร็จ. (ส. ปฺรสิทฺธิ).
- ประสิทธิ- ปฺระสิดทิ-, ปฺระสิด น. ความสำเร็จ. ก. ทำให้สำเร็จ. (ส. ปฺรสิทฺธิ).
ประโยค
- จากประสพการณ์ของผม การโกหกไม่ดีต่อความสัมพันธ์ .
- ผมพาหล่อนมาเพื่อ เพิ่มประสพการณ์และมาช่วยผมครับ .
- ผมจะใช้ความรู้สึกที่ผมมีประสพการณ์เลือกสักคัน ?
- ไม่ใช่แค่ นักธุรกิจที่ประสพความสำเร็จอย่างยิ่ง
- คุณหมอลี ซุนวู ประสพความสำเร็จ ในการผ่าตัดผู้ป่วย
- พวกเขาพูดว่ายังไงน้า เธอไม่เคยมีประสพการณ์บนเวที
- ถ้าเขามีประสิทธิภาพ เขาก็จะประสพความสำเร็จที่นี่
- นี่ ถ้าพวกผู้หญิงประสพความสำเร็จ พวกเขาจะจากไป
- เนธาน เพทเทรลลี่ พี่ชายผู้ประสพความสำเร็จอย่างสูง
- ใครที่ปฏิเสธโชคชะตาของตัวเอง จะไม่ประสพความสำเร็จ