ปริทัศน์ คือ
"ปริทัศน์" การใช้"ปริทัศน์" อังกฤษ"ปริทัศน์" จีน
ปะริทัด
น. การวิจารณ์; หนังสือประเภทวารสารที่วิจารณ์ข่าวหรือเรื่องราวต่าง ๆ. (ส. ปริ + ทรฺศน).
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ปริ ปะริ- เป็นอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต, ใช้นำหน้าศัพท์อื่นแปลว่า รอบ เช่น ปริมณฑล. ๒ ปฺริ ก. แย้ม, ผลิ, แตกแต่น้อย.
- ริ ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- ทัศ ( แบบ ) ว. สิบ เช่น ทัศนัข. ( ส. ); ครบ, ถ้วน, เช่น บารมี ๓๐ ทัศ.
- ทัศน ทัดสะนะ-, ทัด, ทัดสะ- น. ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทรรศนะ ก็ใช้. ( ป. ทสฺสน; ส. ทรฺศน).
- ทัศน์ ทัดสะนะ-, ทัด, ทัดสะ- น. ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทรรศนะ ก็ใช้. ( ป. ทสฺสน; ส. ทรฺศน).
- คดีที่ยังมีปริศนา คดีดํา
- ที่เป็นปริศนา ที่ยากจะแก้ปัญหาได้
- ปรัศนี ปฺรัดสะ- น. เครื่องหมายรูปดังนี้ ?, เครื่องหมายคำถาม ก็เรียก; สิ่งที่เป็นเงื่อนงำต้องหาคำตอบ. (ส.).
- ทัศน- ทัดสะนะ-, ทัด, ทัดสะ- น. ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทรรศนะ ก็ใช้. (ป. ทสฺสน; ส. ทรฺศน).
- ปรัศนา ปฺรัดสะ- (แบบ) น. ปัญหา. (ส. ปฺรศฺน; ป. ปญฺห).
- ปริศนา ปฺริดสะหฺนา น. สิ่งหรือถ้อยคำที่ผูกขึ้นเป็นเงื่อนงำเพื่อให้แก้ให้ทาย. (ส. ปฺรศฺน).
- ทัศนคติ น. แนวความคิดเห็น.
- ทัศนศิลป์ น. ศิลปกรรมประเภทหนึ่งซึ่งแสดงออกด้วยลักษณะที่เป็นรูปภาพหรือรูปทรง รับรู้ได้ด้วยการเห็นและสัมผัสได้ด้วยการจับต้อง เช่น ภาพจิตรกรรม ภาพพิมพ์ งานประติมากรรม งานสถาปัตยกรรม.
- ทัศนะ ทัดสะนะ-, ทัด, ทัดสะ- น. ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทรรศนะ ก็ใช้. (ป. ทสฺสน; ส. ทรฺศน).
ประโยค
- ปริทัศน์การเริ่มทำธุรกิจ
- ศัลยศาสตร์วิจัยปริทัศน์
- ทำให้รู้จักปริทัศน์พื้นฐานของประเภทชนิดต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต่อการเรียน
- เนติวิทย์รักในการทำหนังสือ เขาเคยเป็นสาราณียกรของปาจารยสาร และเคยทำวารสารการศึกษาปริทัศน์กับเพื่อนเป็นเวลาสั้นๆด้วย