ปรินิพพาน คือ
สัทอักษรสากล: [pa ri nip phān] การออกเสียง:
"ปรินิพพาน" การใช้"ปรินิพพาน" อังกฤษ"ปรินิพพาน" จีน
ความหมายมือถือ
ปะรินิบพาน
น. การดับรอบ, การดับสนิท, การดับโดยไม่เหลือ; เรียกอาการตายของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์. (ป.; ส. ปรินิรฺวาณ).
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ปริ ปะริ- เป็นอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต, ใช้นำหน้าศัพท์อื่นแปลว่า รอบ เช่น ปริมณฑล. ๒ ปฺริ ก. แย้ม, ผลิ, แตกแต่น้อย.
- ริ ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- ริน ก. เทให้ไหลออกเรื่อย ๆ ทีละน้อย เช่น รินน้ำใส่ถ้วย. ว. เรื่อย ๆ, น้อย ๆ, เช่น น้ำไหลริน ลมพัดริน ๆ. น. ทองคำที่มีเนื้อหย่อนกว่าเนื้อ ๔
- นิ ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
- นิพพาน นิบพาน น. ความดับสนิทแห่งกิเลสและกองทุกข์. ก. ดับกิเลสและกองทุกข์, ตาย (ใช้แก่พระอรหันต์). ( ป. ; ส. นิรฺวาณ), โบราณใช้ว่า นิรพาณ ก็มี. (
- พา ก. นำไปหรือนำมา.
- พาน ๑ น. ภาชนะมีเชิงประเภทหนึ่ง มีหลายชนิด บางชนิดมีรูปทรงคล้ายจาน บางชนิดมีรูปทรงคล้ายขัน เชิงมีรูปร่างต่าง ๆ กัน
- พระนิพพาน ความพ้น ความหลุดพ้น วิโมกข์
- บัพพาช บับพาด (แบบ) ก. ขับไล่ เช่น พระสญชัยยินราษฎร์ แกล้งบัพพาชกูไกล. (ม. คำหลวง วนปเวสน์). (ป. ปพฺพาช).
- บัพพาชน์ บับพาด (แบบ) น. การขับไล่. (ป. ปพฺพาชน).
- นพพัน นบพน, นบพวง, นบพัน น. วิธีฝึกหัดเลขโบราณอย่างหนึ่ง.
- นิพพิทา นิบพิทา น. ความเบื่อหน่ายในกองทุกข์. (ป.).
- นิรัพพุท -รับพุด น. สังขยาจำนวนสูง เท่ากับ ๑ มี ๐ ตามหลัง ๖๓ ตัว บ้างว่า ๑๐๐ ล้าน. (ป.).
- ปุนัพพสู ปุนับพะสู, ปุนับพะสุ น. ดาวฤกษ์ที่ ๗ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปเรือชัยหรือหัวสำเภา, ดาวหัวสำเภา ดาวสำเภาทอง ดาวสะเภา ดาวยามเกา หรือ ดาวตาเรือชัย ก็เรียก. (ป. ปุนพฺพสุ).
ประโยค
- พระพุทธองค์ปรินิพพานไปแล้ว มาปกป้องทำไม
- มหาปรินิพพานสูตร ฑีฆนิกาย ๑๖
- ลุมพินีหลังพุทธปรินิพพาน
- พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน
- ๑๔ . ปรินิพพาน ๓ . กามสุข
- ตำนานธาตุปรินิพพาน
- เหตุที่เกิดพระบรมสารีริกธาตุจำนวนมากขึ้นนั้น พระโบราณาจารย์อธิบายว่า เกิดจากพุทธประสงค์ ก่อนที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จปรินิพพาน ดังต่อไปนี้