เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

มีฤทธิ์ คือ

สัทอักษรสากล: [mī rit]  การออกเสียง:
"มีฤทธิ์" การใช้"มีฤทธิ์" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ทำให้มึนเมา
  • มี     ว. รวย เช่น เขาเป็นคนมี ไม่ใช่คนจน, ไม่เปล่า, ไม่ว่าง, เช่น ในหม้อมีข้าว ในห้องน้ำมีคน. ก. ถือเป็นเจ้าของ, อยู่ในครอบครอง, เช่น มีเงิน มีลูก,
  • ฤทธิ์     ริด น. อำนาจศักดิ์สิทธิ์, แรงอำนาจ, เช่น เทวดามีฤทธิ์. ( ส. ; ป. อิทฺธิ).
  • ทธิ     ทะทิ ( แบบ ) น. นมส้ม คือนมที่ขึ้นฝาแปรสภาพเป็นนมเปรี้ยว อยู่ในจำพวกเบญจโครส. ( ป. , ส. ).
  • มีฤทธิ์อ่อน    ละ-มุนละไม
  • ฤทธี    ฤทธา ฤทธิ์
  • อิทธิฤทธิ์    น. อำนาจศักดิ์สิทธิ์; (ปาก) อำนาจ.
  • ทำฤทธิ์    ก. ทำพยศหรืออาละวาดเพื่อให้ได้รับการเอาอกเอาใจ (มักใช้แก่เด็ก), ทำฤทธิ์ทำเดช ก็ว่า.
  • ทําฤทธิ์    ทําพยศ ทําฤทธิ์ทําเดช ออกฤทธิ์ อาละวาด แผลงฤทธิ์
  • บุญฤทธิ์    บุนยะ- น. ความสำเร็จด้วยบุญ.
  • พฤทธิ์    พฺรึด น. ความเจริญ, ความมั่งคั่ง, ความสมบูรณ์, ความอวบ, พฤฒิ ก็ใช้; ในไวยากรณ์หมายถึงเสียงยาวที่สุดของสระต่าง ๆ คือ ในบาลีและสันสกฤตได้แก่ อา เป็นพฤทธิ์ของ อะ เป็นต้น. ก. กระทำสระให้ยาวเช่นนั้น. (ส.
  • พฤทธ์    พฺรึด น. ผู้ใหญ่. ว. เจริญ, แข็งแรง, ใหญ่; แก่, เฒ่า, (ตรงข้ามกับ ยุว); ฉลาด, ชำนาญ; เจนจบ, พฤฒ ก็ใช้. (ส. วฺฤทฺธ).
  • ฤทธา    ริด- น. อำนาจศักดิ์สิทธิ์ เช่น รุ่งเรืองฤทธาศักดาเดช. (อิเหนา). (ส.; ป. อิทฺธา).
  • ฤทธิ์เดช    อํานาจ ความยิ่งใหญ่ อานุภาพ อานุภาวะ
  • สัมฤทธิ    สำริดทิ-, สำริด น. ความสำเร็จ ในคำว่า สัมฤทธิผล; โลหะเจือชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก, ทองสัมฤทธิ์ หรือ ทองบรอนซ์ ก็เรียก, โบราณเขียนว่า สำริด. (ส. สมฺฤทฺธิ; ป. สมิทฺธิ).
  • สัมฤทธิ-    สำริดทิ-, สำริด น. ความสำเร็จ ในคำว่า สัมฤทธิผล; โลหะเจือชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก, ทองสัมฤทธิ์ หรือ ทองบรอนซ์ ก็เรียก, โบราณเขียนว่า สำริด. (ส. สมฺฤทฺธิ; ป. สมิทฺธิ).
ประโยค
  • พิษในปลานั่นมีฤทธิ์ทำให้เป็นอัมพาตได้ทั้งตัว
  • หมอแพ๊ค ยาสลบคงมีฤทธิ์ต่อ คนไข้น้อยกว่าคนปกติ !
  • ผลิตภัณฑ์ที่มีฤทธิ์กัดกร่อนเช่นขวดฟอกขาวและกรด
  • มิเตอร์แม่เหล็กสำหรับวัดสื่อที่มีฤทธิ์กัดกร่อน
  • ไม่มีสื่อสั่นสะเทือนหรือมีฤทธิ์กัดกร่อนในอาคาร
  • น้ำมันและของเหลวที่มีฤทธิ์กัดกร่อนปานกลางอื่น ๆ
  • ยาที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ
  • มีฤทธิ์ในการกำจัดการติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา
  • วัณโรคแฝงหรือมีฤทธิ์ของระบบทางเดินหายใจส่วนบน
  • ไม่ควรใช้สบู่ หรือสารเคมีที่มีฤทธิ์แรงต่อผิวหนัง
  • ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม:  1  2  3  4  5