ละม่อม คือ
สัทอักษรสากล: [la mǿm] การออกเสียง:
"ละม่อม" การใช้"ละม่อม" อังกฤษ"ละม่อม" จีน
ความหมายมือถือ
- ว. สุภาพ, อ่อนโยน, (ใช้แก่กิริยาอาการที่เรียบร้อย งดงาม ไม่ขัดเขิน ไม่กระด้าง), มักใช้เข้าคู่กับคำ ละมุน เป็น ละมุนละม่อม หมายความว่า อ่อนโยน นิ่มนวล; โดยไม่มีการขัดขืน (ใช้แก่การจับกุม) เช่น ตำรวจจับผู้ร้ายได้โดยละม่อม.
- ละ ๑ ก. อาการที่แยกตัวให้พ้นจากสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องอยู่ เช่น ละถิ่น ละบ้าน ละสมณเพศ; ทิ้งไว้, ปล่อยไว้, เช่น ละไว้ในฐานที่เข้าใจ ละพยศ;
- อม ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (
- ละมุนละม่อม ว. อ่อนโยน, นิ่มนวล, เช่น เขามีกิริยาท่าทางละมุนละม่อม.
- ความละมุนละม่อม ความนิ่มนวล ความอ่อนโยน ความอ่อนน้อม ความอ่อนหวาน มุทุตา
- ละมุ ๑ น. โป๊ะเล็ก ๆ ที่ทำไว้สำหรับจับปลาตามชายทะเล. ๒ (ถิ่น-อีสาน) น. กลุ่มต้นไม้เล็ก ๆ ตามชายห้วย หนอง บึง.
- ฝาละมี น. สิ่งที่ปิดปากหม้อดินที่เป็นหม้อข้าวหม้อแกง; เรียกส่วนพระเจดีย์ที่เป็นฐานรองรับปล้องไฉนของเจดีย์ทรงกลมหรือทรงลังกา คล้ายฝาละมี ว่า บัวฝาละมี.
- ละมั่ง ดู ละองละมั่ง.
- ละมา น. กาล, คราว, เวลา.
- ละมาน น. ข้าวละมาน. (ดู ข้าวป่า).
- ละมุด น. (๑) ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Manilkara วงศ์ Sapotaceae ผลสุกรสหวาน กินได้ คือ ละมุดฝรั่ง [M. zapota (L.) P. Royen] ผลสุกสีน้ำตาล, ละมุดสีดา หรือ ละมุดไทย [M. kauki (L.) Dubard] ผลสุกสีแดงคล้ำ. (๒)
- ละมุน ว. อ่อนนุ่ม, นุ่มนวล, เช่น ผ้ากำมะหยี่เนื้อนิ่มละมุนมือ.
- ละม้าย ว. คล้าย, เกือบจะเหมือน, เช่น หน้าตาละม้ายไปทางแม่.
- สีละมัน ดู ลิ้นจี่.
- ขะมุกขะมอม ว. เปรอะเปื้อนมอซอ.
- กะละมัง น. เรียกชามที่ทำด้วยโลหะเคลือบว่า ชามกะละมัง.
ประโยค
- นายคิดบ้างไหม ว่าอาจจะมีวิธีที่ละมุนละม่อมกว่านี้
- คุณจะให้ผมทำยังไง ถามอย่างละมุนละม่อมเหรอ
- หุ่นยนต์ของกูที่ทำให้มึงถูกจับโดยละม่อม
- และทำให้เราไม่มีทาง จับกุมได้โดยละม่อม
- แคลร์ช่วยจัดการให้ ยอมสิโรราบโดยละม่อม
- เริ่มต้นด้วยการยกยอชื่นชม ละมุนละม่อม
- เพียงแต่ต้องทำด้วยความละม่อม
- ฉันอยากจะลองวิธีละมุนละม่อม
- หนึ่งหัวใจเต้นละม่อม
- เธอเป็นคนไม่กี่ปีที่อายุมากกว่าฉันว่าฉันได้พบออกโดยละม่อมขอให้รอบ ๆ เล็ก ๆ น้อย ๆ ..
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2