เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ลัญฉะ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ลัน, ลันฉะ
    น. รอย, เครื่องหมาย, พิมพ์, ตรา (ที่ตีหรือประทับแล้ว). (ป.).
  • ฉะ     ๑ ก. ฟันลงไป; ( ปาก ) คำใช้แทนกริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำห้อมล้อม เช่น ฉะปาก หมายความว่า ต่อยปาก, ฉะข้าว หมายความว่า กินข้าว. ๒
  • ลัญฉกร    ลันจะกอน, ลันฉะกอน (แบบ) น. ตรา (สำหรับใช้ตีหรือประทับ), ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระราชลัญจกร เช่น ประทับพระราชลัญจกร. (ป.).
  • ลัญฉน์    ลัน, ลันฉะ น. รอย, เครื่องหมาย, พิมพ์, ตรา (ที่ตีหรือประทับแล้ว). (ป.).
  • ฉะฉี่    (กลอน) ว. ฉี่, เสียงดังอย่างเสียงของที่ทอดน้ำมัน.
  • ฉะนี้    ว. ฉันนี้, เช่นนี้, อย่างนี้, ดังนี้, ดั่งนี้, เพราะฉะนี้, เพราะเหตุนี้.
  • แฉะ    ก. เปียกหรือชุ่มน้ำอยู่เสมอ เช่น ถนนแฉะ ตาแฉะ, เปียกหรือชุ่มน้ำเกินไป เช่น ข้าวแฉะ; ไม่รีบร้อน, เฉื่อยชา, เช่น ทำงานแฉะ.
  • ชาญฉลาด    เฉลียวฉลาด หลักแหลม เจ้าความคิด มีความคิดสร้างสรรค์ ฉลาด ฉลาดเฉลียว เฉียบแหลม หัวดี หัวไว
  • ที่ชาญฉลาด    ซึ่งมีสายตาแหลมคม
  • กัจฉะ    กัดฉะ (ราชา) น. รักแร้, ใช้ว่า พระกัจฉะ. (ป.; ส. กกฺษ).
  • คัจฉะ    คัดฉะ (แบบ) น. ไม้กอ เช่น คัจฉลดาชาติ. (ม. ร. ๔). (ป.).
  • ฉะกะ    ก. ระกะ เช่น โกมุทอุบลบานฉะกะ. (อนิรุทธ์).
  • ฉะฉาด    (กลอน) ว. ฉาด, เสียงอย่างเสียงของแข็งกระทบกัน.
  • ฉะฉาน    ว. อาการที่พูดห้าวหาญและชัดถ้อยชัดคำ, ฉาดฉาน ก็ใช้.
  • ฉะฉ่ำ    (กลอน) ว. ฉ่ำ, ชุ่มชื้น.
  • ฉะต้า    (โบ) อ. ชะต้า.