สรัสวดี คือ
"สรัสวดี" การใช้
สะรัดสะวะดี
น. เทวีองค์หนึ่งในลัทธิศักติของศาสนาฮินดู เป็นชายาของพระพรหม ถือว่าเป็นเทวีแห่งศิลปวิทยา มีหลายชื่อ เช่น ภารตี พราหมี สารทา, ไทยใช้ว่า สุรัสวดี ก็มี. (ส. สรสฺวตี).
- สร สฺระ- คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น
- รัส รัดสะ- ว. สั้น. ( ป. ).
- สว สะวะ- น. ของตนเอง. ( ส. ; ป. สก).
- สวด ก. ว่าเป็นทำนองอย่างพระสวดมนต์ เช่น สวดสังคหะ สวดพระอภิธรรม; ( ปาก ) นินทาว่าร้าย, ดุด่า, ว่ากล่าว, เช่น ถูกแม่สวด.
- วดี ๑ น. รั้ว, กำแพง. ( ป. วติ; ส. วฺฤติ). ๒ คำเติมท้ายคำอื่นที่เป็นนาม หมายความว่า มี เป็นเพศหญิงตามหลักไวยากรณ์ เช่น ดาราวดี ว่า มีดาว.
- ดี ๑ น. อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สำหรับช่วยย่อยอาหาร, เรียกน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ
- พระสรัสวดี พาณี วาณี
- เพลงสวดสรรเสริญ เพลงสดุดี
- คู่สวด น. พระ ๒ รูปที่ทำหน้าที่สวดญัตติในการอุปสมบทหรือการกรานกฐินเป็นต้น.
- คําสวด เวทมนตร์ คาถา อาคม
- นักสวด น. ผู้ชำนาญในการสวด.
- บทสวด การเทศนา การให้โอวาท เพลงสวด
- พิธีสวด พิธีสักการะบูชา
- สวดขอ ภาวนา สวดอ้อนวอน
- สุรัสวดี -รัดสะวะดี น. สรัสวดี; ชื่อกรมในสมัยโบราณมีหน้าที่เกี่ยวกับการรวบรวมบัญชีเลกหรือชายฉกรรจ์, เรียกเต็มว่า กรมพระสุรัสวดี.
ประโยค
- พื้นที่บริเวณนี้คือจุดที่แม่น้ำทาดามิ และแม่น้ำกิงซังไหลมารวมกัน จึงเกิดอุทกภัยบ่อยตั้งแต่อดีต จึงมีการสักการะพระสรัสวดี เพื่อขอให้ขจัดอุทกภัย "