เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สัตตาหกรณียะ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • สัดตาหะกะระนียะ, สัดตาหะกอระนียะ
    น. กิจที่พึงทำเป็นเหตุให้ภิกษุออกจากวัดไปพักแรมในที่อื่นในระหว่างพรรษาได้ไม่เกิน ๗ วัน เช่นเพื่อไปพยาบาลภิกษุสามเณรหรือบิดามารดาที่ป่วยไข้หรือเพื่อบำรุงศรัทธาของทายก.
  • สัต     ๑ สัด, สัดตะ- ว. ดี, งาม; น่านับถือ. ( ส. ). ๒ สัด, สัดตะ- ว. เจ็ด. ( ป. สตฺต; ส. สปฺต).
  • สัตตาห     น. เจ็ดวัน.
  • ตา     ๑ น. พ่อของแม่, ผัวของยาย, ชายที่เป็นญาติชั้นเดียวกับพ่อของแม่หรือที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกับตา, ( ปาก ) คำเรียกชายสูงอายุที่ตนไม่ค่อยเคารพนับถือ
  • หก     ๑ ก. อาการที่ส่วนเบื้องสูงของร่างกาย ของภาชนะ หรือของสิ่งใดสิ่งหนึ่งเอียงลง เทลง ในทันใดจากที่เดิม เช่น หกต่ำหกสูง น้ำหก ข้าวหก,
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กรณี     กะระ-, กอระ- น. คดี, เรื่อง, เหตุ, เช่น ในกรณีนี้ = ในเรื่องนี้. ( ป. , ส. กรณี ว่า ที่เป็นเหตุกระทำ).
  • กรณีย     กะระ-, กอระ- น. กิจ. ว. อันควรทำ, อันพึงทำ. ( ป. ).
  • กรณียะ     กะระ-, กอระ- น. กิจ. ว. อันควรทำ, อันพึงทำ. ( ป. ).
  • รณ     รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
  • ยะ     ๑ คำประกอบข้างหน้าคำที่ตั้งต้นด้วย ย ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ยะยอง ยะยั่ง ยะยัด ยะย้อย ยะย้าย. ๒ ว.
  • สัตตาหกาลิก    น. ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียง ๗ วัน ได้แก่ เภสัชทั้ง ๕ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย. (ป.).
  • สัตตาห-    น. เจ็ดวัน.
  • สหกรณ์    น. งานร่วมมือกัน เช่นทางธุรกิจหรืออุตสาหกรรม เพื่อหากำไรหรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ในงานนั้น ๆ ร่วมกัน, (กฎ) คณะบุคคลซึ่งร่วมกันดำเนินกิจการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียน
  • สหกรณ์สินเชื่อ    ธนาคารเพื่อการสหกรณ์ สหกรณ์การเงิน
  • สัญกรณ์ฐานสิบหก    เลขฐานสิบหก