เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สาระยำ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ก. ชั่วมาก เช่น ผู้เฒ่าเหล่าเมธา ว่าใบ้บ้าสาระยำ. (พระไชยสุริยา).
  • สา     ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
  • สาร     สาระ- คำประกอบหน้าคำ แปลว่า ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุก, เช่น สารทิศ ว่า ทุกทิศ, สารทุกข์ ว่า ทุกข์ทั้งหมด, สารเลว ว่า เลวทั้งสิ้น. ( เลือนมาจาก สรฺว
  • สาระ     น. ส่วนสำคัญ, ข้อใหญ่ใจความ, เช่น เขียนมายืดยาวแต่มีสาระน้อย ทำดีย่อมได้ดีเป็นสาระสำคัญของเรื่องนี้; ประโยชน์ เช่น เรื่องไม่เป็นสาระ ไร้สาระ.
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • ระยำ     ว. ชั่วช้า, ต่ำช้า, เลวทราม, อัปมงคล, เช่น คนระยำ เรื่องระยำ ทำระยำ; ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) ยับเยิน, แหลก, เช่น ดังดวงแก้วตกต้องแผ่นผา
  • ยำ     ๑ ก. เคล้าคละ, ปะปน. น. ชื่อกับข้าวอย่างหนึ่งที่ปรุงโดยเอาผักและเนื้อสัตว์เป็นต้นมาเคล้าเข้าด้วยกัน เช่น ยำเนื้อ ยำเล็บมือนาง ยำปลากรอบ. ๒
  • คนระยำ    อีแร้งจำพวกbuteo คนผิด คนมักง่าย คนสะเพร่า คนโง่เง่า คนงุ่มง่าม คนซุ่มซ่าม
  • ระยำยับ    ว. แหลกยับเยิน, แตกย่อยยับ.
  • เล่นระยำ    ก. กระทำสิ่งที่ชั่วช้าไม่เป็นมงคลเพื่อความสนุกเป็นต้น.
  • อย่างระยำ    อย่างกับนรก
  • เลวระยำ    ลุกไหม้ อย่างมหันต์ เด่นชัด เผาไหม้ โจ่งแจ้ง โต้ง ๆ
  • ระยำตำบอน    (ปาก) ว. เลวทราม, ชั่วช้า, เหลวไหล.
  • กระยาสารท    -สาด น. ขนมทำด้วยถั่วงาและข้าวเม่าข้าวตอกกวนกับน้ำตาล แต่เดิมนิยมทำเฉพาะในเทศกาลสารท.
  • สายระยาง    น. สายเชือกหรือลวดที่รั้งเสากระโดงเรือเป็นต้น.
  • ระยะที่สามารถได้ยินเสียง    ระยะที่ได้ยินเสียง