สูจกะ คือ
-จะกะ
น. ผู้ชี้แจง; ผู้นำจับ; ผู้ส่อเสียด. (ป., ส.).
- สู ๑ ( วรรณ ) ว. อาย เช่น มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู. ( ตะเลงพ่าย ). ๒ ( โบ ) ส. ท่าน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
- จก ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- ปัญจกะ ปันจก, -จะกะ (แบบ) น. เบญจก, หมวด ๕. (ป.).
- มัญจกะ มันจะกะ, มันจา น. เตียง, ที่นอน. (ป., ส. มญฺจ, มญฺจก).
- อัจเจกะ ว. ผิดปรกติ, บังเอิญเป็น; รีบร้อน; จำเป็น. (ป.).
- สัจกิริยา สัดจะ- น. การตั้งความสัตย์.
- สัญจกร ตราประทับเล็ก ๆ ตราเล็ก ๆ เครื่องประทับตรา
- มูสิกะ -สิกะ- น. หนู. (ป.).
- สักกะ ๑ (แบบ) น. พระอินทร์. (ป.; ส. ศกฺร). ๒ น. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์, ศากยะ ก็ว่า. (ป.; ส. ศากฺย). (ดู ศากย-, ศากยะ).
- สังกะสี น. ธาตุลำดับที่ ๓๐ สัญลักษณ์ Zn เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวแกมน้ำเงิน หลอมละลายที่ ๔๑๙ °ซ. ใช้ประโยชน์ได้มาก เช่น นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ ใช้ฉาบผิวเหล็กเพื่อกันสนิม. (อ. zinc); เหล็กชุ
- สันติกะ น. สำนัก, ที่ใกล้. (ป.).
- สุงกะ สุงกะ- น. ส่วย. ว. เนื่องด้วยการเก็บอากรจากสินค้าขาเข้าและขาออก. (ป.; ส. ศุลฺก).
- สังกะตัง ว. ลักษณะที่ติดแน่นเป็นปมเหนียวที่ผมหรือขนสัตว์สางไม่ออก เช่น ผมเป็นสังกะตัง.
- สังกะวัง น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Pangasius polyuranodon ในวงศ์ Schilbeidae ลักษณะรูปร่างคล้ายปลาสวาย หนวดยาวถึงหรือเลยครีบอก ขนาดโตได้ถึง ๕๒ เซนติเมตร.