เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

หูชัน คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ก. อาการที่แสดงว่าตั้งใจฟัง (มักใช้แก่สัตว์บางชนิด).
  • หู     น. ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ ทำหน้าที่สำหรับฟังเสียง; ส่วนแห่งสิ่งของที่ทำไว้หิ้ว แขวน ร้อย หรือรูดเข้าออก เช่น หูกระทะ หูมุ้ง หูกางเกง หูถุง;
  • ชัน     ๑ น. ยางไม้สำหรับยาเรือเป็นต้น. ๒ ก. ยกตั้งตรง เช่น ชันขา ชันเข่า; ตั้งขึ้น เช่น ขนชัน หูชัน. ว. ตรงขึ้นไป, ไม่ลาด, เช่น ตลิ่งชัน.
  • หัช    หัด ว. น่ารัก; น่ายินดี, พึงใจ. (ป. หชฺช).
  • หูชั้นใน    ช่องในหู ห้องหูชั้นใน
  • หูช้าง    ๑ น. แผ่นกระดานที่ทำเป็นรูปฉากหรือพัดด้ามจิ้วสำหรับติดกับมุมสิ่งของ, ชื่อฉากซึ่งเป็นเครื่องมือวัดมุมของช่างไม้; แผ่นกระจกหรือพลาสติกที่รถยนต์เป็นรูปคล้ายหูช้าง สำหรับเปิดรับลมหรือระบายลม; ชื่อขนมชนิ
  • ห.น.    หน. เฮด ลูกพี่ หัวหน้า
  • หัน    ๑ ก. ผันร่างไปทางใดทางหนึ่ง เช่น หันซ้าย คือ ผันร่างไปทางซ้าย หันขวา คือ ผันร่างไปทางขวา, ผินไปทางใดทางหนึ่ง เช่น นิยมสร้างโบสถ์หันหน้าไปทางทิศตะวันออก, หมุน เช่น หันหน้ามาทางนี้; เปลี่ยนใจ เช่น หัน
  • หั่น    ก. เอาของวางลงบนที่รองรับแล้วตัดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ, (ปาก) ตัด เช่น หั่นงบประมาณ.
  • หั้น    (ถิ่น) ว. นั้น.
  • หิน    ๑ น. ของแข็งที่ประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ. ๒ (ปาก) ว. ยากมาก เช่น ข้อสอบหิน, เข้มงวดมาก เช่น ครูคนนี้หิน, เหี้ยมมาก, แข็งมาก, เช่น เขาเป็นคนใจหิน. ๓ ก. หัน, ผัน หรือ
  • หิน-    หิน, หินนะ- ว. เลว, ทราม, ต่ำช้า, ใช้ว่า หืน ก็มี เช่น โหดหืน. (ป., ส. หีน).
  • หีน    หีนะ-, หีนนะ-, ฮีนะ- ว. เลว, ทราม, ต่ำช้า. (ป., ส.).
  • หีน-    หีนะ-, หีนนะ-, ฮีนะ- ว. เลว, ทราม, ต่ำช้า. (ป., ส.).
  • หืน    ๑ ว. มีกลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นน้ำมันมะพร้าวเป็นต้นที่ทิ้งไว้นาน ๆ. ๒ (กลอน) ว. หิน, เลว, ทราม, ต่ำช้า. (ดู หิน ๔, หิน-).
  • หื่น    ก. มีความอยากอย่างแรงกล้า (มักใช้ในทางกามารมณ์).