หูเฝื่อน คือ
- หู น. ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ ทำหน้าที่สำหรับฟังเสียง; ส่วนแห่งสิ่งของที่ทำไว้หิ้ว แขวน ร้อย หรือรูดเข้าออก เช่น หูกระทะ หูมุ้ง หูกางเกง หูถุง;
- เฝื่อน ว. รสที่เจือฝาดและขื่นอย่างรสดีเกลือ; วางหน้าไม่สนิทเหมือนกินของมีรสเฝื่อน.
- อน อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
- ยิ้มเฝื่อน ก. ยิ้มวางหน้าไม่สนิทคล้ายกินของมีรสเฝื่อน.
- เฝื่อนฝาด ขื่น ฝาด เฝื่อน เจื่อน
- ห่อน ว. เคย เช่น ไป่ห่อนเหลือคิดข้า คิดผิด แม่นา. (ลอ), ในคำประพันธ์บางคราวใช้แทน ไม่ เช่น สาลิกามาตามคู่ ชมกันอยู่สู่สมสมร แต่พี่นี้อาวรณ์ ห่อนเห็นเจ้าเศร้าใจครวญ. (เห่ชมนก).
- อยู่เหย้าเฝ้าเรือน รู้อยู่
- หัวข้อนํา คําชี้นํา คําแนะ
- หัวงอน ดู หัวตะกั่ว (๑).
- หัวนอน น. ด้านทางหัวของผู้นอน, ตรงข้ามกับปลายตีน; (โบ) ทิศใต้เรียกว่า ทิศหัวนอน.
- หัวอ่อน ว. ว่าง่าย, สอนง่าย, เช่น เขาเป็นคนหัวอ่อน บอกอะไรก็เชื่อ, ตรงข้ามกับ หัวแข็ง. ก. ยอมอ่อนตามง่าย เช่น เด็กคนนี้หัวอ่อนมาก พอชี้แจงให้เข้าใจก็เปลี่ยนความคิดทันที, ตรงข้ามกับ หัวแข็ง.
- หัวเงื่อน น. ปมที่ทำไว้สำหรับกระตุกหรือชักออกเมื่อเวลาแก้, โดยปริยายหมายถึงข้อความตรงที่จะต้องไขความให้กระจ่าง.
- หินอ่อน น. หินปูนชนิดที่ขัดแล้วผิวจะเป็นมัน.
- หินเลื่อน ดินเลื่อน แผ่นดินเลื่อน
- เพื่อนคู่หู น. เพื่อนที่ถูกคอถูกใจกัน.